สาขาการจัดการธุรกิจอาหาร
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Summary
8.22
รีวิวสาขาการจัดการธุรกิจอาหาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ผลิตบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจอาหารที่มีมุมมองความรู้ทั้งด้านบริหารและวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นส่วนรอยต่อที่สำคัญของการขับเคลื่อนธุรกิจอาหารให้ประสบความสำเร็จโดยต้องมีความรู้และความเข้าใจในธุรกิจอาหารรวมทั้งมีความคิดสร้างสรรค์ในการนำองค์ความรู้ที่มีไปจัดทำเป็นแผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติจริงรวมถึงมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- เหมาะกับผู้ที่สนใจทางด้านธุรกิจอาหาร หรือ อยากเป็นเจ้าของธุรกิจอาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบ
จนถึงร้านอาหาร (ตลอดห่วงโซ่อาหาร) หรือ ทายาทเจ้าของธุรกิจอาหาร
- มีการเรียนในด้านการวิทยาศาสตร์การอาหาร 60% และเรียนด้านการบริหารจัดการ 40%
- จะมีความรู้แบบผสมผสานทั้งทางเทคโนโลยีอาหารและการบริหารจัดการในธุรกิจ
อาหาร
- เรียนสายศิลป์แต่ได้คุณวุฒิ วท.บ. ได้
- จบสายศิลป์/ศิลป์ภาษา /ปวช/ปวส ก็เรียนได้ เพราะมีการเรียนปรับพื้นวิชาเคมี
- มีผลงานของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและเข้ารอบสุดท้ายระดับนานาชาติ
- เรียนจบแล้วสามารถสร้างธุรกิจอาหารเป็นของตนเองได้
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยให้กับผู้ประกอบการธุรกิจอาหารทั้งระดับอุตสาหกรรมและ SME
- อาจารย์ในสาขามีการส่งผลงานเข้าประกวดทางด้านธุรกิจ
จบมาทำงานอะไร
- ประกอบธุรกิจด้านอาหาร เช่น เจ้าของร้านอาหาร เจ้าของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
ดลอดห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
- เจ้าหน้าที่ทำงานในห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
เช่น ธุรกิจที่เกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบ ธุรกิจด้านการผลิตหรือแปรรูปอาหาร ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง ธุรกิจทางการขายและการตลาดทางอาหาร ธุรกิจบริการด้านอาหาร เช่น ครัวภัตตาคาร ครัวการบินและโรงแรม ธุรกิจร้านอาหารแฟรนไชส์ รวมถึงธุรกิจการนำเข้าและส่งออกอาหาร ตัวอย่างตำแหน่งงาน เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนการผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายคลังสินค้า/สโตร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย และงานตำแหน่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ทำงานในหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
- ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
282,550 บาท
สาขาการจัดการธุรกิจอาหาร
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ผลงานของสาขา
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
8.50
ความพร้อมของห้องปฎิบัติการและอุปกรณ์การเรียน
8.50
ความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
8.50
สภาพแวดล้อมของสถานที่เรียน
8.50
Summary
U-Review Score
8.22
ผลิตบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจอาหารที่มีมุมมองความรู้ทั้งด้านบริหารและวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นส่วนรอยต่อที่สำคัญของการขับเคลื่อนธุรกิจอาหารให้ประสบความสำเร็จโดยต้องมีความรู้และความเข้าใจในธุรกิจอาหารรวมทั้งมีความคิดสร้างสรรค์ในการนำองค์ความรู้ที่มีไปจัดทำเป็นแผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติจริงรวมถึงมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (School of Science and Technology)
ชื่อสาขา
การจัดการธุรกิจอาหาร (Food Business Management)
ชื่อปริญญา
วท.บ. (การจัดการธุรกิจอาหาร) (วิทยาศาสตรบัณฑิต (การจัดการธุรกิจอาหาร))
รายละเอียด
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหาร
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต
เนื้อหาวิชา
โครงสร้างหลักสูตรรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหาร
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 30 หน่วยกิต
ก. กลุ่มวิชาภาษา 15 หน่วยกิต
ข. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
ง. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
จ. กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 100 หน่วยกิต
ก. กลุ่มวิชาพื้นฐานเฉพาะด้าน 21 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 15 หน่วยกิต
- ด้านบริหารธุรกิจ 6 หน่วยกิต
ข. กลุ่มวิชาวิชาเอก - บังคับ 49 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 31 หน่วยกิต
- ด้าบริหารธุรกิจ 18 หน่วยกิต
ค. กลุ่มวิชาเอก - เลือก 15 หน่วยกิต
แบ่งเป็น 2 แผน :
แผน ก หลักสูตรปกติ
• กลุ่มวิชาเอก - เลือกในสาขา 15 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 9 หน่วยกิต
- ด้านบริหารธุรกิจ 6 หน่วยกิต
ฝึกงานอย่างน้อย 180 ชั่วโมง
แผน ข หลักสูตรสหกิจศึกษา
• กลุ่มวิชาเอก - เลือกในสาขา 9 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 6 หน่วยกิต
- ด้านบริหารธุรกิจ 3 หน่วยกิต
• วิชาสหศึกษา 6 หน่วยกิต
ง. กลุ่มวิชาโท 15 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
คุณสมบัติ
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกสาขาวิชา จากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ ที่รับรองโดยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- คุณสมบัติด้านอื่นๆ เป็นไปตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
สิ่งใหม่ จุดเด่น จุดแตกต่าง
- เหมาะกับผู้ที่สนใจทางด้านธุรกิจอาหาร หรือ อยากเป็นเจ้าของธุรกิจอาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบ
จนถึงร้านอาหาร (ตลอดห่วงโซ่อาหาร) หรือ ทายาทเจ้าของธุรกิจอาหาร
- มีการเรียนในด้านการวิทยาศาสตร์การอาหาร 60% และเรียนด้านการบริหารจัดการ 40%
- จะมีความรู้แบบผสมผสานทั้งทางเทคโนโลยีอาหารและการบริหารจัดการในธุรกิจ
อาหาร
- เรียนสายศิลป์แต่ได้คุณวุฒิ วท.บ. ได้
- จบสายศิลป์/ศิลป์ภาษา /ปวช/ปวส ก็เรียนได้ เพราะมีการเรียนปรับพื้นวิชาเคมี
- มีผลงานของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและเข้ารอบสุดท้ายระดับนานาชาติ
- เรียนจบแล้วสามารถสร้างธุรกิจอาหารเป็นของตนเองได้
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยให้กับผู้ประกอบการธุรกิจอาหารทั้งระดับอุตสาหกรรมและ SME
- อาจารย์ในสาขามีการส่งผลงานเข้าประกวดทางด้านธุรกิจ
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
นานาชาติ
สำเร็จการศึกษานานาชาติ
ค่าเทอม
282,550 บาท / ตลอดหลักสูตร
ผลงานและรางวัล
ผลงานของนักศึกษา
- ผลิตภัณฑ์ “หมกหมั่นกะทิอัมพวา” ได้รับรางวัลรางวัลชมเชย คงเอกลักษณ์อาหารไทย ใน
งาน โครงการประกวดสูตรอาหารไทยจากกะทิอัมพวา ครั้งที่ 2 (พฤศจิกายน 2557) ผลงานของนักศึกษา : นายพิพัฒน์ รุ่งเรือง และ นายเมธัส สิรสุทธิ ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล
- ผลิตภัณฑ์ “JUICY” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง (โครงการประกวดทีมอาหาร
สร้างสรรค์) ในงาน THAILAND STYLISH STREET FOOD MAKEOVER FESTIVAL (กุมภาพันธ์ 2559) ผลงานของนักศึกษา : นางสาวอชิรญา จิตมั่นคงสุข นางสาวอัญชิสา บุญเจียม นายวิชิต แสงอรุณ ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล
- ผลิตภัณฑ์ “ชามะม่วงหาวมะนาวโหสำเร็จรูป ตราทรีฟรุต” ได้รับรางวัลชมเชยสำหรับ
ผลิตภัณฑ์ผู้สูงอายุ ประเภท สถาบันศึกษา ในงาน Thailand Green Design Award 2017 ผลงานของนักศึกษา : นายปัณฑ์กรณ์ หรูรักวิทย์ นายอลงกรณ์ หน้านวล และ นางสาวพรพิมล พันเดช ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล และอาจารย์ลดาวัลย์ ช่างชุบ
- ผลิตภัณฑ์ “Sacha inchiomega” ได้รับเข้ารอบ 12 ทีมสุดท้าย ในการประกวด TECH
PLAN DEMO DAY in THAILAND (on June 19th, 2016) ผลงานของนักศึกษา : นายปัณฑ์กรณ์ หรูรักวิทย์ นายธนพล ลิขิตรุ่งเรือง และ นายณัฐพล จิ้วผกานนท์ ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.สุรพงษ์ พินิจกลาง และผศ.รัชนี ไสยประจง
- นางสาวศิวนาถ ตามพานนท์ ชั้นปีที่ 1 แข่งขันกีฬาเพาะกาย ได้รางวัล 2 เหรียญเงิน กีฬา
มหาวิทยาลัยสุรนารีเกมส์ (กุมภาพันธ์ 2560)
ผลงานอาจารย์
- ผลงาน “เครื่องดื่ม Whey Peptide Double C®” ได้รับรางวัลที่ 3 ในงาน การประกวดการ
นำเสนอธุรกิจ “IP Fair Pitching 2016” งานมหกรรมทรัพย์สินทางปัญญา IP Fair 2016 Innovation for Life and Living: Smart Living, Food, Health and Wellness (สิงหาคม 2559) โดยผศ.ดร.สุรพงษ์ พินิจกลาง และ ผศ.รัชนี ไสยประจง
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
- ประกอบธุรกิจด้านอาหาร เช่น เจ้าของร้านอาหาร เจ้าของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
ดลอดห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
- เจ้าหน้าที่ทำงานในห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
เช่น ธุรกิจที่เกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบ ธุรกิจด้านการผลิตหรือแปรรูปอาหาร ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง ธุรกิจทางการขายและการตลาดทางอาหาร ธุรกิจบริการด้านอาหาร เช่น ครัวภัตตาคาร ครัวการบินและโรงแรม ธุรกิจร้านอาหารแฟรนไชส์ รวมถึงธุรกิจการนำเข้าและส่งออกอาหาร ตัวอย่างตำแหน่งงาน เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนการผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายคลังสินค้า/สโตร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย และงานตำแหน่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ทำงานในหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
- ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง
สาขาการจัดการธุรกิจอาหาร
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
รีวิวสาขาการจัดการธุรกิจอาหาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
จนถึงร้านอาหาร (ตลอดห่วงโซ่อาหาร) หรือ ทายาทเจ้าของธุรกิจอาหาร
- มีการเรียนในด้านการวิทยาศาสตร์การอาหาร 60% และเรียนด้านการบริหารจัดการ 40%
- จะมีความรู้แบบผสมผสานทั้งทางเทคโนโลยีอาหารและการบริหารจัดการในธุรกิจ
อาหาร
- เรียนสายศิลป์แต่ได้คุณวุฒิ วท.บ. ได้
- จบสายศิลป์/ศิลป์ภาษา /ปวช/ปวส ก็เรียนได้ เพราะมีการเรียนปรับพื้นวิชาเคมี
- มีผลงานของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและเข้ารอบสุดท้ายระดับนานาชาติ
- เรียนจบแล้วสามารถสร้างธุรกิจอาหารเป็นของตนเองได้
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยให้กับผู้ประกอบการธุรกิจอาหารทั้งระดับอุตสาหกรรมและ SME
- อาจารย์ในสาขามีการส่งผลงานเข้าประกวดทางด้านธุรกิจ
จบมาทำงานอะไร
ดลอดห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
- เจ้าหน้าที่ทำงานในห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
เช่น ธุรกิจที่เกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบ ธุรกิจด้านการผลิตหรือแปรรูปอาหาร ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง ธุรกิจทางการขายและการตลาดทางอาหาร ธุรกิจบริการด้านอาหาร เช่น ครัวภัตตาคาร ครัวการบินและโรงแรม ธุรกิจร้านอาหารแฟรนไชส์ รวมถึงธุรกิจการนำเข้าและส่งออกอาหาร ตัวอย่างตำแหน่งงาน เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนการผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายคลังสินค้า/สโตร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย และงานตำแหน่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ทำงานในหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
- ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
สาขาการจัดการธุรกิจอาหาร
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหาร
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 30 หน่วยกิต
ก. กลุ่มวิชาภาษา 15 หน่วยกิต
ข. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
ง. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
จ. กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 100 หน่วยกิต
ก. กลุ่มวิชาพื้นฐานเฉพาะด้าน 21 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 15 หน่วยกิต
- ด้านบริหารธุรกิจ 6 หน่วยกิต
ข. กลุ่มวิชาวิชาเอก - บังคับ 49 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 31 หน่วยกิต
- ด้าบริหารธุรกิจ 18 หน่วยกิต
ค. กลุ่มวิชาเอก - เลือก 15 หน่วยกิต
แบ่งเป็น 2 แผน :
แผน ก หลักสูตรปกติ
• กลุ่มวิชาเอก - เลือกในสาขา 15 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 9 หน่วยกิต
- ด้านบริหารธุรกิจ 6 หน่วยกิต
ฝึกงานอย่างน้อย 180 ชั่วโมง
แผน ข หลักสูตรสหกิจศึกษา
• กลุ่มวิชาเอก - เลือกในสาขา 9 หน่วยกิต
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 6 หน่วยกิต
- ด้านบริหารธุรกิจ 3 หน่วยกิต
• วิชาสหศึกษา 6 หน่วยกิต
ง. กลุ่มวิชาโท 15 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
- คุณสมบัติด้านอื่นๆ เป็นไปตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
- เหมาะกับผู้ที่สนใจทางด้านธุรกิจอาหาร หรือ อยากเป็นเจ้าของธุรกิจอาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบ
จนถึงร้านอาหาร (ตลอดห่วงโซ่อาหาร) หรือ ทายาทเจ้าของธุรกิจอาหาร
- มีการเรียนในด้านการวิทยาศาสตร์การอาหาร 60% และเรียนด้านการบริหารจัดการ 40%
- จะมีความรู้แบบผสมผสานทั้งทางเทคโนโลยีอาหารและการบริหารจัดการในธุรกิจ
อาหาร
- เรียนสายศิลป์แต่ได้คุณวุฒิ วท.บ. ได้
- จบสายศิลป์/ศิลป์ภาษา /ปวช/ปวส ก็เรียนได้ เพราะมีการเรียนปรับพื้นวิชาเคมี
- มีผลงานของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและเข้ารอบสุดท้ายระดับนานาชาติ
- เรียนจบแล้วสามารถสร้างธุรกิจอาหารเป็นของตนเองได้
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
- อาจารย์ในสาขามีผลงานในด้านวิจัยให้กับผู้ประกอบการธุรกิจอาหารทั้งระดับอุตสาหกรรมและ SME
- อาจารย์ในสาขามีการส่งผลงานเข้าประกวดทางด้านธุรกิจ
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
นานาชาติ
สำเร็จการศึกษานานาชาติ
- ผลิตภัณฑ์ “หมกหมั่นกะทิอัมพวา” ได้รับรางวัลรางวัลชมเชย คงเอกลักษณ์อาหารไทย ใน
งาน โครงการประกวดสูตรอาหารไทยจากกะทิอัมพวา ครั้งที่ 2 (พฤศจิกายน 2557) ผลงานของนักศึกษา : นายพิพัฒน์ รุ่งเรือง และ นายเมธัส สิรสุทธิ ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล
- ผลิตภัณฑ์ “JUICY” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง (โครงการประกวดทีมอาหาร
สร้างสรรค์) ในงาน THAILAND STYLISH STREET FOOD MAKEOVER FESTIVAL (กุมภาพันธ์ 2559) ผลงานของนักศึกษา : นางสาวอชิรญา จิตมั่นคงสุข นางสาวอัญชิสา บุญเจียม นายวิชิต แสงอรุณ ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล
- ผลิตภัณฑ์ “ชามะม่วงหาวมะนาวโหสำเร็จรูป ตราทรีฟรุต” ได้รับรางวัลชมเชยสำหรับ
ผลิตภัณฑ์ผู้สูงอายุ ประเภท สถาบันศึกษา ในงาน Thailand Green Design Award 2017 ผลงานของนักศึกษา : นายปัณฑ์กรณ์ หรูรักวิทย์ นายอลงกรณ์ หน้านวล และ นางสาวพรพิมล พันเดช ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พิชญอร ไหมสุทธิสกุล และอาจารย์ลดาวัลย์ ช่างชุบ
- ผลิตภัณฑ์ “Sacha inchiomega” ได้รับเข้ารอบ 12 ทีมสุดท้าย ในการประกวด TECH
PLAN DEMO DAY in THAILAND (on June 19th, 2016) ผลงานของนักศึกษา : นายปัณฑ์กรณ์ หรูรักวิทย์ นายธนพล ลิขิตรุ่งเรือง และ นายณัฐพล จิ้วผกานนท์ ชั้นปีที่ 4 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.สุรพงษ์ พินิจกลาง และผศ.รัชนี ไสยประจง
- นางสาวศิวนาถ ตามพานนท์ ชั้นปีที่ 1 แข่งขันกีฬาเพาะกาย ได้รางวัล 2 เหรียญเงิน กีฬา
มหาวิทยาลัยสุรนารีเกมส์ (กุมภาพันธ์ 2560)
ผลงานอาจารย์
- ผลงาน “เครื่องดื่ม Whey Peptide Double C®” ได้รับรางวัลที่ 3 ในงาน การประกวดการ
นำเสนอธุรกิจ “IP Fair Pitching 2016” งานมหกรรมทรัพย์สินทางปัญญา IP Fair 2016 Innovation for Life and Living: Smart Living, Food, Health and Wellness (สิงหาคม 2559) โดยผศ.ดร.สุรพงษ์ พินิจกลาง และ ผศ.รัชนี ไสยประจง
- ประกอบธุรกิจด้านอาหาร เช่น เจ้าของร้านอาหาร เจ้าของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
ดลอดห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
- เจ้าหน้าที่ทำงานในห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบการเกษตร จนถึง การบริการผู้บริโภค
เช่น ธุรกิจที่เกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบ ธุรกิจด้านการผลิตหรือแปรรูปอาหาร ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง ธุรกิจทางการขายและการตลาดทางอาหาร ธุรกิจบริการด้านอาหาร เช่น ครัวภัตตาคาร ครัวการบินและโรงแรม ธุรกิจร้านอาหารแฟรนไชส์ รวมถึงธุรกิจการนำเข้าและส่งออกอาหาร ตัวอย่างตำแหน่งงาน เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนการผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายคลังสินค้า/สโตร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผนงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย และงานตำแหน่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ทำงานในหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร
- ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง
สาขาการจัดการธุรกิจอาหาร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ