สาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
Summary
8.53
รีวิวสาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน ทั้งนี้ นักศึกษายังได้เรียนรู้ถึงระบบการผลิตภาพยนตร์เพื่อการเผยแพร่ Online ไม่ว่าจะเป็น Social network ต่างๆ หรือ Youtube เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ที่จะมุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เป็นตัวขับเคลื่อนประเทศ ลดทอนต้นทุนในการผลิตอุปกรณ์ และเครื่องมือในการผลิตภาพยนตร์ก็สำคัญไม่แพ้กัน ทางสาขายังมีเครื่องมือ และอุปกรณ์ ในการผลิตภาพยนตร์ ระดับมาตราฐานต่างประเทศ ในระดับ HD (High Definition) ซึ่งสามารถผลิตภาพยนตร์และฉายในโรงภาพยนตร์จริงๆ ได้ ในการนี้ นักศึกษาแต่ละคนจะมีโอกาสผลิตภาพยนตร์ โดยจะเป็นผลงานภาพยนตร์ส่วนตัวอย่างน้อยคนละ 1 เรื่องอย่างมีคุณภาพ เพื่อใช้เป็น portfolioในการสมัครงานกับ Studio ชั้นนำของประเทศได้
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
เน้นการเรียนการสอนบนพื้นฐานของการปฏิบัติ Base on project
โดยอาจารย์ในสาขานอกจากจะเป็นนักวิชาการและ ยังเป็นนักวิชาชีพในวงการภาพยนตร์มากว่า 10 ปี โดยในหลักสูตร จะเป็นการจำลองศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์ในแขนงต่าง ๆ ลงสู่บทเรียนในห้องเรียน โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดจากอาจารย์สู่ศิษย์ และจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เพื่อเน้นการออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ ทำให้นักศึกษาได้รับรู้ถึงการใช้เครื่องมือ กล้อง และอุปกรณ์ และรับรู้ถึงปัญหาจากการออกกองถ่ายจริง และนำไปปรับประยุกต์ในหลังการจบการศึกษาได้จริง ซึ่งบัณฑิตที่จบไปแล้ว ส่วนมากจะอยู่ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์จริงในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน
จบมาทำงานอะไร
- นักเขียนบท
- ผู้อำนวยการสร้าง
- ผู้จัดการกองถ่ายภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพ
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพ
- ผู้กำกับศิลป์
- ผู้ออกแบบงานสร้าง
- ผู้ลำดับภาพ
- ผู้ช่วยผู้ลำดับภาพ
- ช่างภาพนิ่ง
- นักวิจารณ์ภาพยนตร์
- นักวิชาการด้านภาพยนตร์
สมัครเรียนทำอย่างไร
1. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) หรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวีชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าในคณะและสาขาวิชาที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาหลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี
2. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งและสมัครเข้าศึกษาเพื่อรับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น
3. ไม่เคยเป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
หน่วยกิตละ: 1,300 บาท
สาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ผลงานของสาขา (ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
9.00
ความพร้อมของห้องปฎิบัติการ และอุปกรณ์การเรียน
9.00
ความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
9.00
สภาพแวดล้อมของสถานที่เรียน
8.50
Summary
U-Review Score
8.53
เน้นการเรียนการสอนบนพื้นฐานของการปฏิบัติ Base on project
โดยอาจารย์ในสาขานอกจากจะเป็นนักวิชาการและ ยังเป็นนักวิชาชีพในวงการภาพยนตร์มากว่า 10 ปี โดยในหลักสูตร จะเป็นการจำลองศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์ในแขนงต่าง ๆ ลงสู่บทเรียนในห้องเรียน โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดจากอาจารย์สู่ศิษย์ และจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เพื่อเน้นการออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ ทำให้นักศึกษาได้รับรู้ถึงการใช้เครื่องมือ กล้อง และอุปกรณ์ และรับรู้ถึงปัญหาจากการออกกองถ่ายจริง และนำไปปรับประยุกต์ในหลังการจบการศึกษาได้จริง ซึ่งบัณฑิตที่จบไปแล้ว ส่วนมากจะอยู่ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์จริงในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน
VIDEO
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
นิเทศศาสตร์ (Communication Arts)
ชื่อสาขา
การภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA)
ชื่อปริญญา
นศ.บ. (การภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล) (นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล)
รายละเอียด
ในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน ทั้งนี้ นักศึกษายังได้เรียนรู้ถึงระบบการผลิตภาพยนตร์เพื่อการเผยแพร่ Online ไม่ว่าจะเป็น Social network ต่างๆ หรือ Youtube เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ที่จะมุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เป็นตัวขับเคลื่อนประเทศ ลดทอนต้นทุนในการผลิตอุปกรณ์ และเครื่องมือในการผลิตภาพยนตร์ก็สำคัญไม่แพ้กัน ทางสาขายังมีเครื่องมือ และอุปกรณ์ ในการผลิตภาพยนตร์ ระดับมาตราฐานต่างประเทศ ในระดับ HD (High Definition) ซึ่งสามารถผลิตภาพยนตร์และฉายในโรงภาพยนตร์จริงๆ ได้ ในการนี้ นักศึกษาแต่ละคนจะมีโอกาสผลิตภาพยนตร์ โดยจะเป็นผลงานภาพยนตร์ส่วนตัวอย่างน้อยคนละ 1 เรื่องอย่างมีคุณภาพ เพื่อใช้เป็น portfolioในการสมัครงานกับ Studio ชั้นนำของประเทศได้
คุณสมบัติ
1. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) หรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวีชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าในคณะและสาขาวิชาที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาหลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี
2. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งและสมัครเข้าศึกษาเพื่อรับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น
3. ไม่เคยเป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย
สิ่งใหม่ จุดเด่น จุดแตกต่าง
เน้นการเรียนการสอนบนพื้นฐานของการปฏิบัติ Base on project
โดยอาจารย์ในสาขานอกจากจะเป็นนักวิชาการและ ยังเป็นนักวิชาชีพในวงการภาพยนตร์มากว่า 10 ปี โดยในหลักสูตร จะเป็นการจำลองศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์ในแขนงต่าง ๆ ลงสู่บทเรียนในห้องเรียน โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดจากอาจารย์สู่ศิษย์ และจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เพื่อเน้นการออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ ทำให้นักศึกษาได้รับรู้ถึงการใช้เครื่องมือ กล้อง และอุปกรณ์ และรับรู้ถึงปัญหาจากการออกกองถ่ายจริง และนำไปปรับประยุกต์ในหลังการจบการศึกษาได้จริง ซึ่งบัณฑิตที่จบไปแล้ว ส่วนมากจะอยู่ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์จริงในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต ศิลป์ - คำนวณ ศิลป์ - สังคม ศิลป์ - ภาษา ศิลป์ - จีน ศิลป์ - ญี่ปุ่น เทียบเท่า (อาชีวะ) เทียบเท่า (กศน.) สำเร็จการศึกษา ม.6 วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
ทุนการศึกษา
กยศ. ทุนเรียนดี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ได้รับการรับรองจาก
สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ผลงานและรางวัล
ผลงานในระดับประเทศ:
1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดภาพยนตร์สั้น เรื่อง “แสงสุดท้าย”
โครงการ “ดรีมอีสาน: อนาคตภาคอีสานกับการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม” จัดโดย ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ร่วมกับ มูลนิธิฟรีดริ เนามันประเทศไทย และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
2. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดภาพยนตร์สั้น มูลนิธิหนังไทย เรื่อง เด็กน้อยบ้านโนนสะอาด
3. รางวัลดีเด่น SCB Young Artist Awards จากภาพยนตร์เรื่อง “อีกสามวัน...บุรีรัมย์”
ศิษย์เก่าที่น่าสนใจ:
จีจ้า ญาณิน วิสมิตะนันทน์ นักแสดง
จำนวนอาจารย์ต่อนักศึกษาเฉลี่ยต่อห้อง
อาจารย์ 1 คน : นักศึกษา 15-20 คน
ห้องปฏิบัติการและอุปกรณ์การเรียน มีอะไรบ้าง
ห้องสตูดิโอ 1
ห้องสตูดิโอ 2
ห้อง Lab ตัดต่อภาพยนตร์
มีความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
อาชีพ
- นักเขียนบท
- ผู้อำนวยการสร้าง
- ผู้จัดการกองถ่ายภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพ
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพ
- ผู้กำกับศิลป์
- ผู้ออกแบบงานสร้าง
- ผู้ลำดับภาพ
- ผู้ช่วยผู้ลำดับภาพ
- ช่างภาพนิ่ง
- นักวิจารณ์ภาพยนตร์
- นักวิชาการด้านภาพยนตร์
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
สามารถทำได้ทั้งงานภาพยนตร์ หรืองานโทรทัศน์ อีกทั้งยังสามารถผลิตงานในรูปแบบของ digital media โดยเผยแพร่ทางสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็น youtube facebook etc.
เรียนต่อ
สามารถศึกษาต่อทั้งภายในและภายนอกประเทศ ในสาขา
- นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
- Master of Arts
- Master of fine Arts
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ประมาณ 15,000-100,000 บาท/เดือน
โอกาสงานในอาเซียน
เป็นหนึ่งในอาชีพเสรีในอาเซียน
บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับสาขานี้
1.มีความชอบในงานด้านภาพยนตร์ งานเบื้องหลังการถ่ายทำ
2.ให้ความสำคัญและความสนใจในการเสพสื่อประเภทต่างๆ เช่น ละครเวที โทรทัศน์ Youtube เป็นต้น
3.มีความละเอียด รอบคอบ อดทน และอัธยาศัยดี
4.สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
สาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
รีวิวสาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
โดยอาจารย์ในสาขานอกจากจะเป็นนักวิชาการและ ยังเป็นนักวิชาชีพในวงการภาพยนตร์มากว่า 10 ปี โดยในหลักสูตร จะเป็นการจำลองศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์ในแขนงต่าง ๆ ลงสู่บทเรียนในห้องเรียน โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดจากอาจารย์สู่ศิษย์ และจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เพื่อเน้นการออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ ทำให้นักศึกษาได้รับรู้ถึงการใช้เครื่องมือ กล้อง และอุปกรณ์ และรับรู้ถึงปัญหาจากการออกกองถ่ายจริง และนำไปปรับประยุกต์ในหลังการจบการศึกษาได้จริง ซึ่งบัณฑิตที่จบไปแล้ว ส่วนมากจะอยู่ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์จริงในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน
จบมาทำงานอะไร
- ผู้อำนวยการสร้าง
- ผู้จัดการกองถ่ายภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพ
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพ
- ผู้กำกับศิลป์
- ผู้ออกแบบงานสร้าง
- ผู้ลำดับภาพ
- ผู้ช่วยผู้ลำดับภาพ
- ช่างภาพนิ่ง
- นักวิจารณ์ภาพยนตร์
- นักวิชาการด้านภาพยนตร์
สมัครเรียนทำอย่างไร
2. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งและสมัครเข้าศึกษาเพื่อรับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น
3. ไม่เคยเป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
สาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
โดยอาจารย์ในสาขานอกจากจะเป็นนักวิชาการและ ยังเป็นนักวิชาชีพในวงการภาพยนตร์มากว่า 10 ปี โดยในหลักสูตร จะเป็นการจำลองศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์ในแขนงต่าง ๆ ลงสู่บทเรียนในห้องเรียน โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดจากอาจารย์สู่ศิษย์ และจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เพื่อเน้นการออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ ทำให้นักศึกษาได้รับรู้ถึงการใช้เครื่องมือ กล้อง และอุปกรณ์ และรับรู้ถึงปัญหาจากการออกกองถ่ายจริง และนำไปปรับประยุกต์ในหลังการจบการศึกษาได้จริง ซึ่งบัณฑิตที่จบไปแล้ว ส่วนมากจะอยู่ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์จริงในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
2. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งและสมัครเข้าศึกษาเพื่อรับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น
3. ไม่เคยเป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย
โดยอาจารย์ในสาขานอกจากจะเป็นนักวิชาการและ ยังเป็นนักวิชาชีพในวงการภาพยนตร์มากว่า 10 ปี โดยในหลักสูตร จะเป็นการจำลองศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์ในแขนงต่าง ๆ ลงสู่บทเรียนในห้องเรียน โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอดจากอาจารย์สู่ศิษย์ และจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เพื่อเน้นการออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ ทำให้นักศึกษาได้รับรู้ถึงการใช้เครื่องมือ กล้อง และอุปกรณ์ และรับรู้ถึงปัญหาจากการออกกองถ่ายจริง และนำไปปรับประยุกต์ในหลังการจบการศึกษาได้จริง ซึ่งบัณฑิตที่จบไปแล้ว ส่วนมากจะอยู่ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์จริงในการเรียนการสอน จะมุ่งเน้นการบูรณาการในแต่ละวิชา โดย 1 โปรเจค ของแต่ละภาคการศึกษาจะวัดผลได้หลาย ๆ วิชา ทำให้นักศึกษาไม่ต้องมีภาระงานที่หลากหลาย แต่จะมุ่งเน้น และเจาะลึกในโปรเจคนั้นๆ ทำให้นักศึกษาเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในกระบวนการทำภาพยนตร์ในแต่ละขั้นตอน
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดภาพยนตร์สั้น เรื่อง “แสงสุดท้าย”
โครงการ “ดรีมอีสาน: อนาคตภาคอีสานกับการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม” จัดโดย ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ร่วมกับ มูลนิธิฟรีดริ เนามันประเทศไทย และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
2. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดภาพยนตร์สั้น มูลนิธิหนังไทย เรื่อง เด็กน้อยบ้านโนนสะอาด
3. รางวัลดีเด่น SCB Young Artist Awards จากภาพยนตร์เรื่อง “อีกสามวัน...บุรีรัมย์”
ศิษย์เก่าที่น่าสนใจ:
จีจ้า ญาณิน วิสมิตะนันทน์ นักแสดง
จำนวนอาจารย์ต่อนักศึกษาเฉลี่ยต่อห้อง
อาจารย์ 1 คน : นักศึกษา 15-20 คน
ห้องปฏิบัติการและอุปกรณ์การเรียน มีอะไรบ้าง
ห้องสตูดิโอ 1
ห้องสตูดิโอ 2
ห้อง Lab ตัดต่อภาพยนตร์
มีความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
- ผู้อำนวยการสร้าง
- ผู้จัดการกองถ่ายภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์
- ผู้กำกับภาพ
- ผู้ช่วยผู้กำกับภาพ
- ผู้กำกับศิลป์
- ผู้ออกแบบงานสร้าง
- ผู้ลำดับภาพ
- ผู้ช่วยผู้ลำดับภาพ
- ช่างภาพนิ่ง
- นักวิจารณ์ภาพยนตร์
- นักวิชาการด้านภาพยนตร์
- นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
- Master of Arts
- Master of fine Arts
2.ให้ความสำคัญและความสนใจในการเสพสื่อประเภทต่างๆ เช่น ละครเวที โทรทัศน์ Youtube เป็นต้น
3.มีความละเอียด รอบคอบ อดทน และอัธยาศัยดี
4.สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
สาขาการภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล (FILM AND DIGITAL MEDIA) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ