นิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวนิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ฮอร์โมน เดอะซีรี่ย์, แฟนฉัน คิดถึงวิทยา, ฟรีแลนซ์ ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ, กวนมึนโฮ“เชื่อว่าน้องๆ ทุกคนต้องรู้จักหรือเคยดูผลงานเหล่านี้กันทั้งนั้น ทั้งหมดนี้ผลงานสร้างชื่อของผู้กำกับชื่อดังที่จบจากสาขาภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมถึงภาพยนตร์ดังอีกหลายๆเรื่องที่ยังไม่พูดถึงอีกมากมาย
ภาพยนตร์และภาพนิ่งเป็นอีกสื่อหนึ่งที่เข้าถึงยากหากผู้ที่รับสารนั้นไม่ใช้ความสนใจ หรือไม่มีความอยากที่เข้าหามันจริงๆ ดังนั้นใครสักคนหนึ่งที่จะสร้างภาพยนตร์หรือภาพนิ่งนั้นจึงจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีแล้วยังต้องเรียนรู้วิธีการสร้างสื่อนี้ให้ออกมาดีและมีคนสนใจในสื่อที่ตนเองสร้างขึ้นมา
น้องๆ เคยเห็นนิทรรศการประกวดภาพนิ่งกันบ้างไหม? ภาพนิ่งนั้นก่อนที่ช่างภาพจะถ่ายนั้นจะต้องมีความหมาย ก่อนจะลั่นชัตเตอร์นั้น ช่างภาพจะมีความรู้สึกว่า ภาพที่อยู่ตรงหน้านั้นสวยก่อนจะลั่นชัตเตอร์ ภาพทุกภาพมักจะมีความหมายความรู้สึกของตัวมันเอง ซึ่งเป็นพื้นฐานของภาพยนตร์ ดังนั้นวิชาภาพนิ่งสำหรับงานภาพยนตร์เบื้องต้น น่าจะเป็นวิชาหนึ่งที่น่าสนใจเลยทีเดียว และยังมีอีกหลายๆวิชาที่น่าสนใจก็คือ เขียนบทภาพยนตร์สำหรับผู้กำกับ, การวิเคราะห์วิจารณ์ ภาพยนตร์เบื้องต้น, การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น, การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น และภาพยนตร์กระแสอื่น เป็นต้น
การสร้างภาพยนตร์สักเรื่องให้เป็นที่สนใจของผู้ชมนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย หนังได้เงินเยอะก็มี หนังขาดทุนก็มี ดังนั้นถ้าหากน้องๆ อยากจะทำหนังสักเรื่องนั้นจะต้องเรียนรู้หลักมากผลิตในหลายเรื่อง พี่เชื่อว่าที่นี่จะให้ความรู้ความเข้าใจในการสร้างภาพยนตร์ให้กับน้องๆ เป็นอย่างมาก นอกจากจะเรียนในห้องเรียนแล้ว น้องๆยังจะได้เรียนกับอาจารย์พิเศษที่เป็นศิษย์เก่าของที่นี่อยู่บ่อย เพื่อเป็นกำลังใจให้น้องๆ ที่เรียนในสาขานี้
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มีศิษย์เก่าและอาจารย์พิเศษที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น ย้ง ทรงยศ, เต๋อ ฉันทวิชช์
- มีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัย
จบมาทำงานอะไร
ทำงานในบริษัทสร้างภาพยนตร์ สตูดิโอถ่ายภาพนิ่ง โปรดักชั่นเฮาส์ บริษัทโฆษณา สำนักพิมพ์ สำนักงานหนังสือพิมพ์และนิตยสาร สถานีวิทยุโทรทัศน ์ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวช้องอื่นๆ เช่น งานที่เกี่ยวข้องกับการจัดนิทรรศการและผลิตสื่อในรูปแบบของมัลติมีเดีย งานออกแบบหรือจัดภาพประกอบ และสร้างสรรค์งานภาพถ่าย
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (แบบปกติ)
- กำลังศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า ทุกแผนการเรียน
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 5 เทอม 2.75 ขึ้นไป
- ผลคะแนนสอบ GAT 40%
- ผลคะแนนสอบ PAT1 (คณิตสาศตร์) 60% หรือ PAT 7.1-7.4 (ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน) 60%
- สมัครทางอินเทอร์เนตที่เว็บไซต์ www.atc.chula.ac.th
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%
รูปแบบที่ 1
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%
รูปแบบที่ 2
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT7.1 (ภาษาฝรั่งเศส), PAT7.2 (ภาษาเยอรมัน), PAT7.3 (ภาษาญี่ปุ่น), PAT7.4 (ภาษาจีน) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
168, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
21, 000 บาท/เทอม
3 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 3.3 แย่
นิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
นิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวนิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ฮอร์โมน เดอะซีรี่ย์, แฟนฉัน คิดถึงวิทยา, ฟรีแลนซ์ ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ, กวนมึนโฮ“เชื่อว่าน้องๆ ทุกคนต้องรู้จักหรือเคยดูผลงานเหล่านี้กันทั้งนั้น ทั้งหมดนี้ผลงานสร้างชื่อของผู้กำกับชื่อดังที่จบจากสาขาภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมถึงภาพยนตร์ดังอีกหลายๆเรื่องที่ยังไม่พูดถึงอีกมากมาย
ภาพยนตร์และภาพนิ่งเป็นอีกสื่อหนึ่งที่เข้าถึงยากหากผู้ที่รับสารนั้นไม่ใช้ความสนใจ หรือไม่มีความอยากที่เข้าหามันจริงๆ ดังนั้นใครสักคนหนึ่งที่จะสร้างภาพยนตร์หรือภาพนิ่งนั้นจึงจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีแล้วยังต้องเรียนรู้วิธีการสร้างสื่อนี้ให้ออกมาดีและมีคนสนใจในสื่อที่ตนเองสร้างขึ้นมา
น้องๆ เคยเห็นนิทรรศการประกวดภาพนิ่งกันบ้างไหม? ภาพนิ่งนั้นก่อนที่ช่างภาพจะถ่ายนั้นจะต้องมีความหมาย ก่อนจะลั่นชัตเตอร์นั้น ช่างภาพจะมีความรู้สึกว่า ภาพที่อยู่ตรงหน้านั้นสวยก่อนจะลั่นชัตเตอร์ ภาพทุกภาพมักจะมีความหมายความรู้สึกของตัวมันเอง ซึ่งเป็นพื้นฐานของภาพยนตร์ ดังนั้นวิชาภาพนิ่งสำหรับงานภาพยนตร์เบื้องต้น น่าจะเป็นวิชาหนึ่งที่น่าสนใจเลยทีเดียว และยังมีอีกหลายๆวิชาที่น่าสนใจก็คือ เขียนบทภาพยนตร์สำหรับผู้กำกับ, การวิเคราะห์วิจารณ์ ภาพยนตร์เบื้องต้น, การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น, การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น และภาพยนตร์กระแสอื่น เป็นต้น
การสร้างภาพยนตร์สักเรื่องให้เป็นที่สนใจของผู้ชมนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย หนังได้เงินเยอะก็มี หนังขาดทุนก็มี ดังนั้นถ้าหากน้องๆ อยากจะทำหนังสักเรื่องนั้นจะต้องเรียนรู้หลักมากผลิตในหลายเรื่อง พี่เชื่อว่าที่นี่จะให้ความรู้ความเข้าใจในการสร้างภาพยนตร์ให้กับน้องๆ เป็นอย่างมาก นอกจากจะเรียนในห้องเรียนแล้ว น้องๆยังจะได้เรียนกับอาจารย์พิเศษที่เป็นศิษย์เก่าของที่นี่อยู่บ่อย เพื่อเป็นกำลังใจให้น้องๆ ที่เรียนในสาขานี้
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัย
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- กำลังศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า ทุกแผนการเรียน
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 5 เทอม 2.75 ขึ้นไป
- ผลคะแนนสอบ GAT 40%
- ผลคะแนนสอบ PAT1 (คณิตสาศตร์) 60% หรือ PAT 7.1-7.4 (ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน) 60%
- สมัครทางอินเทอร์เนตที่เว็บไซต์ www.atc.chula.ac.th
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%
รูปแบบที่ 1
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%
รูปแบบที่ 2
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT7.1 (ภาษาฝรั่งเศส), PAT7.2 (ภาษาเยอรมัน), PAT7.3 (ภาษาญี่ปุ่น), PAT7.4 (ภาษาจีน) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
นิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
3 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 3.3 แย่
นิเทศศาสตร์ สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ