สาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
Summary
8.22
รีวิวสาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
สาขาวิชาสื่อสารการแสดงร่วมสมัยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเพื่อรองรับการเติบโตของแวดวงในสายงานอุตสาหกรรมบันเทิงทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังโดยการเรียนการสอนนั้นเน้นไปที่การเรียนการแสดงทางเวทีเป็นพื้นฐานหลักและนำสิ่งที่ได้เรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในชั้นเรียนนั้นนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในหน้าที่ต่างๆรวมถึงประยุกต์ใช้กับสื่อร่วมสมัยอย่าง เช่น สายงานทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ การแสดงสดประเภทต่างๆ รวมถึงกิจกรรมพิเศษหรือที่เรารู้จักกันที่เรียกว่างาน Event
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
เน้นการเรียนการสอนบนพื้นฐานของการปฏิบัติ Base on project นักศึกษาทุกคนจะได้เรียนรู้จากการทำงานจริง เพื่อยกระดับการเรียนการสอนที่ตอบรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามามีส่วนร่วมในงานการแสดงสด อย่างเช่นงานการแสดงที่เรียกว่า Performance with Technologies ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในทวีปยุโรป และกำลังเป็นกระแสที่มาแรงในประเทศไทยตอนนี้ และนักศึกษาจะได้เปิดโลกทัศน์ที่กว้างมากขึ้น เป็นนักคิดนักสร้างสรรค์ การเรียนการสอนทั้งหลักสูตรจะมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นหลักเมื่อนักศึกษาจบการศึกษาไปแล้วจะเป็นนักปฏิบัติเชิงรุก(PROACTIVE PRACTITIONER)พร้อมที่จะออกไปปฏิบัติงานได้จริงและตอบสนองตลาดแรงงานโดยมีทิศทางที่ชัดเจนและมีโอกาสสูงที่จะได้งานทำหลังจากจบการศึกษาไปแล้ว
จบมาทำงานอะไร
-ผู้กำกับ (Director)
-ผู้เขียนบท (Writer)
-ผู้ฝึกสอนการแสดง (Acting Coach)
-นักแสดง (Actor)
-ครีเอทีฟ (Creative)
-ผู้กำกับเวที (Stage Manager)
-นักเขียนหรือนักวิจารณ์การแสดง (Critic)
-ประสานงาน (Coordinator)
-เสื้อผ้า (Costume)
-แต่งหน้า (Make up)
-ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
-การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
-บริษัทรับจัดงาน (Organizer)
-ธุรกิจกองถ่าย
สมัครเรียนทำอย่างไร
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
หน่วยกิตละ: 1,300 บาท
สาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ผลงานของสาขา (ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
8.50
ความพร้อมของห้องปฎิบัติการ และอุปกรณ์การเรียน
8.50
ความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
8.50
สภาพแวดล้อมของสถานที่เรียน
8.50
Summary
U-Review Score
8.22
เน้นการเรียนการสอนบนพื้นฐานของการปฏิบัติ Base on project นักศึกษาทุกคนจะได้เรียนรู้จากการทำงานจริง เพื่อยกระดับการเรียนการสอนที่ตอบรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามามีส่วนร่วมในงานการแสดงสด อย่างเช่นงานการแสดงที่เรียกว่า Performance with Technologies ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในทวีปยุโรป และกำลังเป็นกระแสที่มาแรงในประเทศไทยตอนนี้
VIDEO
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
นิเทศศาสตร์ (Communication Arts)
ชื่อสาขา
สื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication)
ชื่อปริญญา
นศ.บ. (สื่อสารการแสดงร่วมสมัย) (นิเทศศาสตรบัณฑิต (สื่อสารการแสดงร่วมสมัย) )
รายละเอียด
สาขาวิชาสื่อสารการแสดงร่วมสมัยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเพื่อรองรับการเติบโตของแวดวงในสายงานอุตสาหกรรมบันเทิงทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังโดยการเรียนการสอนนั้นเน้นไปที่การเรียนการแสดงทางเวทีเป็นพื้นฐานหลักและนำสิ่งที่ได้เรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในชั้นเรียนนั้นนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในหน้าที่ต่างๆรวมถึงประยุกต์ใช้กับสื่อร่วมสมัยอย่าง เช่น สายงานทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ การแสดงสดประเภทต่างๆ รวมถึงกิจกรรมพิเศษหรือที่เรารู้จักกันที่เรียกว่างาน Event
เนื้อหาวิชา
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต
1.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ 24 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาภาษา 10 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาพลานามัย 1 หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไปเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาภาษา
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
กลุ่มวิชาพลานามัย
2.หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 99 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน 30 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 54 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
3.หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ประกอบด้วยกลุ่มวิชาภายในคณะฯและหรือกลุ่มวิชาภายนอกคณะฯ
คุณสมบัติ
1. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)
2. ไม่เคยเป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
สิ่งใหม่ จุดเด่น จุดแตกต่าง
เน้นการเรียนการสอนบนพื้นฐานของการปฏิบัติ Base on project นักศึกษาทุกคนจะได้เรียนรู้จากการทำงานจริง เพื่อยกระดับการเรียนการสอนที่ตอบรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามามีส่วนร่วมในงานการแสดงสด อย่างเช่นงานการแสดงที่เรียกว่า Performance with Technologies ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในทวีปยุโรป และกำลังเป็นกระแสที่มาแรงในประเทศไทยตอนนี้
และนักศึกษาจะได้เปิดโลกทัศน์ที่กว้างมากขึ้น เป็นนักคิดนักสร้างสรรค์ การเรียนการสอนทั้งหลักสูตรจะมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นหลักเมื่อนักศึกษาจบการศึกษาไปแล้วจะเป็นนักปฏิบัติเชิงรุก(PROACTIVE PRACTITIONER)พร้อมที่จะออกไปปฏิบัติงานได้จริงและตอบสนองตลาดแรงงานโดยมีทิศทางที่ชัดเจนและมีโอกาสสูงที่จะได้งานทำหลังจากจบการศึกษาไปแล้ว
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต ศิลป์ - คำนวณ
ทุนการศึกษา
กยศ. ทุนเรียนดี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ได้รับการรับรองจาก
สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ผลงานและรางวัล
ผลงานในระดับประเทศ
1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดภาพยนตร์สั้น เรื่อง “แสงสุดท้าย”
โครงการ “ดรีมอีสาน: อนาคตภาคอีสานกับการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม” จัดโดย
ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ร่วมกับ มูลนิธิฟรีดริช
เนามันประเทศไทย และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
-นายโอปอ แถวพันธ์
2. รางวัลชมเชย
โครงการ แบรนด์พลังเพื่อเลือดใหม่ การประกวดวีดีโอคลิปรณรงค์บริจาคโลหิต
หัวข้อ “ BRAND’S Young Blood บริจาคโลหิตด้วยความสมัครใจ ยิ่งให้ยิ่งได้สุขภาพดี”
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย และ บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด (เครื่องดื่ม BRAND)
-นภสร ปานพลอย
-วิรันดา ฉ่ำแฉล้ม
-ภัทรพร เหรียญมาลากุล
-ชัญญานุช ถนอมรัตน์
-สุชานันท์ เหล่าหาไชย
อาชีพ
-ผู้กำกับ (Director)
-ผู้เขียนบท (Writer)
-ผู้ฝึกสอนการแสดง (Acting Coach)
-นักแสดง (Actor)
-ครีเอทีฟ (Creative)
-ผู้กำกับเวที (Stage Manager)
-นักเขียนหรือนักวิจารณ์การแสดง (Critic)
-ประสานงาน (Coordinator)
-เสื้อผ้า (Costume)
-แต่งหน้า (Make up)
-ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
-การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
-บริษัทรับจัดงาน (Organizer)
-ธุรกิจกองถ่าย
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
หลักสูตรนี้ได้ออกแบบไว้เพื่อให้นักศึกษาที่จบการศึกษาสามารถทำงานในอุตสาหกรรมบันเทิงซึ่งนักศึกษาจะมีองค์
ความรู้ที่รอบด้านและหลากหลายด้านสื่อร่วมสมัยนักศึกษาต้องนำเอาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในทักษะที่ตนเองสนใจหรือนำเอาความรู้ไปใช้เพื่อทำงานในอุตสาหกรรมบันเทิง ทั้ง ละครเวที งานด้านโทรทัศน์ งานภาพยนตร์ หรือไปประยุกต์ในงานอื่น ๆ ได้แก่
1. งานทางด้านการผลิต
-ผู้กำกับ (Director)
-ผู้เขียนบท (Writer)
-ผู้ฝึกสอนการแสดง (Acting Coach)
-นักแสดง (Actor)
-ครีเอทีฟ (Creative)
-ผู้กำกับเวที (Stage Manager)
-นักเขียนหรือนักวิจารณ์การแสดง (Critic)
-ประสานงาน (Coordinator)
-เสื้อผ้า (Costume)
-แต่งหน้า (Make up)
2. งานทางด้านการบริหารจัดการงานการแสดง
-ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
-การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
-บริษัทรับจัดงาน (Organizer)
-ธุรกิจกองถ่าย
3. อาชีพอิสระทางด้างงานการแสดง (Freelance)
เรียนต่อ
สามารถศึกษาต่อทั้งภายในและภายนอกประเทศในสาขา
- นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
- Master of Arts
- Master of fine Arts
โอกาสงานในอาเซียน
เป็นหนึ่งในอาชีพเสรีในอาเซียน
บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับสาขานี้
1. มีความชอบในงานด้านการแสดง
2. ให้ความสำคัญและความสนใจในการเสพสื่อประเภทต่างๆ เช่น ละครเวที โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น
3. มีความละเอียด รอบคอบ อดทน และอัธยาศัยดี
4. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
สาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
รีวิวสาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
จบมาทำงานอะไร
-ผู้เขียนบท (Writer)
-ผู้ฝึกสอนการแสดง (Acting Coach)
-นักแสดง (Actor)
-ครีเอทีฟ (Creative)
-ผู้กำกับเวที (Stage Manager)
-นักเขียนหรือนักวิจารณ์การแสดง (Critic)
-ประสานงาน (Coordinator)
-เสื้อผ้า (Costume)
-แต่งหน้า (Make up)
-ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
-การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
-บริษัทรับจัดงาน (Organizer)
-ธุรกิจกองถ่าย
สมัครเรียนทำอย่างไร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
สาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
1.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ 24 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาภาษา 10 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาพลานามัย 1 หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไปเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาภาษา
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
กลุ่มวิชาพลานามัย
2.หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 99 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน 30 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 54 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
3.หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ประกอบด้วยกลุ่มวิชาภายในคณะฯและหรือกลุ่มวิชาภายนอกคณะฯ
2. ไม่เคยเป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
และนักศึกษาจะได้เปิดโลกทัศน์ที่กว้างมากขึ้น เป็นนักคิดนักสร้างสรรค์ การเรียนการสอนทั้งหลักสูตรจะมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นหลักเมื่อนักศึกษาจบการศึกษาไปแล้วจะเป็นนักปฏิบัติเชิงรุก(PROACTIVE PRACTITIONER)พร้อมที่จะออกไปปฏิบัติงานได้จริงและตอบสนองตลาดแรงงานโดยมีทิศทางที่ชัดเจนและมีโอกาสสูงที่จะได้งานทำหลังจากจบการศึกษาไปแล้ว
ศิลป์ - คำนวณ
1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดภาพยนตร์สั้น เรื่อง “แสงสุดท้าย”
โครงการ “ดรีมอีสาน: อนาคตภาคอีสานกับการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม” จัดโดย
ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ร่วมกับ มูลนิธิฟรีดริช
เนามันประเทศไทย และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
-นายโอปอ แถวพันธ์
2. รางวัลชมเชย
โครงการ แบรนด์พลังเพื่อเลือดใหม่ การประกวดวีดีโอคลิปรณรงค์บริจาคโลหิต
หัวข้อ “ BRAND’S Young Blood บริจาคโลหิตด้วยความสมัครใจ ยิ่งให้ยิ่งได้สุขภาพดี”
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย และ บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด (เครื่องดื่ม BRAND)
-นภสร ปานพลอย
-วิรันดา ฉ่ำแฉล้ม
-ภัทรพร เหรียญมาลากุล
-ชัญญานุช ถนอมรัตน์
-สุชานันท์ เหล่าหาไชย
-ผู้เขียนบท (Writer)
-ผู้ฝึกสอนการแสดง (Acting Coach)
-นักแสดง (Actor)
-ครีเอทีฟ (Creative)
-ผู้กำกับเวที (Stage Manager)
-นักเขียนหรือนักวิจารณ์การแสดง (Critic)
-ประสานงาน (Coordinator)
-เสื้อผ้า (Costume)
-แต่งหน้า (Make up)
-ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
-การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
-บริษัทรับจัดงาน (Organizer)
-ธุรกิจกองถ่าย
ความรู้ที่รอบด้านและหลากหลายด้านสื่อร่วมสมัยนักศึกษาต้องนำเอาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในทักษะที่ตนเองสนใจหรือนำเอาความรู้ไปใช้เพื่อทำงานในอุตสาหกรรมบันเทิง ทั้ง ละครเวที งานด้านโทรทัศน์ งานภาพยนตร์ หรือไปประยุกต์ในงานอื่น ๆ ได้แก่
1. งานทางด้านการผลิต
-ผู้กำกับ (Director)
-ผู้เขียนบท (Writer)
-ผู้ฝึกสอนการแสดง (Acting Coach)
-นักแสดง (Actor)
-ครีเอทีฟ (Creative)
-ผู้กำกับเวที (Stage Manager)
-นักเขียนหรือนักวิจารณ์การแสดง (Critic)
-ประสานงาน (Coordinator)
-เสื้อผ้า (Costume)
-แต่งหน้า (Make up)
2. งานทางด้านการบริหารจัดการงานการแสดง
-ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
-การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
-บริษัทรับจัดงาน (Organizer)
-ธุรกิจกองถ่าย
3. อาชีพอิสระทางด้างงานการแสดง (Freelance)
- นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
- Master of Arts
- Master of fine Arts
2. ให้ความสำคัญและความสนใจในการเสพสื่อประเภทต่างๆ เช่น ละครเวที โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น
3. มีความละเอียด รอบคอบ อดทน และอัธยาศัยดี
4. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
สาขาสื่อสารการแสดงร่วมสมัย (Contemporary Performing Arts Communication) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ