เภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทยก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยถือกำเนิดจากโรงเรียนปรุงยาหรือแผนกปรุงยาแห่งโรงเรียนราชแพทยาลัย ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชในปัจจุบัน
สาขาเภสัชอุตสาหการ เรียนเกี่ยวกับการผลิตยาเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งถ้าหากน้องๆ คนไหนชอบทำงานห้องวิจัย การทำยาต่างๆ พี่แนะนำไปให้เรียนสาขานี้เหมาะที่สุดค่ะ โดยการเรียนการสอนในปีที่ 1 น้องจะต้องเรียนแคลคูลัสและเคมีทั่วไป เพื่อเป็นบทนำไปสู่วิชาชีพเภสัชกรรม ในปีที่ 2 ก็จะเป็นรายวิชาเคมีขั้นสูงต่างๆ สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชีวเคมี จุลชีววิทยา กายวิภาคศาสต สรีรวิทยา และจำพวกรายวิชาเภสัชศาสตร์ต่างๆ อาทิ ระบบยาและสุขภาพ คำนวณเภสัช เคมีของยา เภสัชกรรม รวมไปถึงการทดลองทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา อีกด้วย ส่วนปีที่ 3 จะเป็นรายวิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย์ ปฏิบัติการเภสัชกรรม ปฏิบัติการเภสัชเคมี เภสัชกรรมปฏิบัติ ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนศาสตร์ ในปีนี่น้องๆ ก็จะได้เรื่องของเครื่องไม้เครื่องมือทางเภสัชศาสตร์ ไปจนถึงการวิเคราะห์ตัวยาต่างๆ อาหารและโภชนาการไปพร้อมๆ กัน ปีที่ 4 เป็นศาสตร์ของเภสัชศาสตร์ล่วนๆ อย่างเช่น พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชบำบัด เภสัชเวท นิติเภสัชและจริยธรรมเภสัชฯ เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร์ วิธีวิทยาการวิจัยทางเภสัชศาสตร์ การใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดโรค การเสริมสุขภาพด้วยระบบบริการทางเภสัชกรรม การจัดการทางเภสัชศาสตร์ การประกันคุณภาพและการควบคุมคุณภาพของยา และเป็นการฝึกฝนในภาคปฏิบัติการห้องแลปน้องๆ ไปเรื่อยๆ จนชำนาญอีกด้วย ส่วนในปีที่ 5 นั้นจะมีวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพทางเภสัชศาสตร์เข้ามาเสริมให้ ที่นอกเหนือจากการเรียนเรื่องของหลักการและกระบวนการทางเภสัชอุตสาหกรรม การบริหารการผลิตเภสัชภัณฑ์ ความรู้ทั้งหมดของเภสัชเวทที่ควรรู้ เรียนรู้เรื่องพิษต่างๆ ในรายวิชาพิษวิทยา และการทำโครงงานเภสัชศาสตร์เพื่อเตรียมพอไปสู่ปีสุดท้ายปีที่ 6 น้องๆ จะต้องออกไปการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ซึ่งจะต้องนำความรู้ทั้งหมดที่เรียนมาไปใช้ในส่วนนี้ ยังไม่หมดแค่นั้นยังต้องเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในการฝึกงานมาใช้ในการทำโครงงานเพื่อนำเสนอต่อคณะฯ ก่อนจบการศึกษาด้วยค่ะ
การเรียนเภสัชฯ ไม่ใช่เรียนแค่การจ่ายยาแต่เพียงอย่างเดียว แต่จำเป็นจะต้องรู้ถึงที่มาของมัน และผลที่จะตามของมันด้วย ซึ่งหากน้องๆ ที่สนใจในศาสตร์นี้ ที่คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็เป็นอีกตัวเลือกหนึ่งที่น่าสนใจไม่น้อยเลย เพราะด้วยความเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ ของประเทศ และความเก่าแก่ในด้านวิชาการของคณะฯ ก็การันตีได้ว่าเข้าไปแล้วน้องๆ จะได้ความรู้อย่างเต็มประสิทธิภาพแน่นอนค่ะ
จบมาทำงานอะไร
สามารถประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในหน่วยงานของราชการต่างๆ เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ภาคเอกชน เช่น เป็นเภสัชกรนักวิจัยโรงงานอุตสาหกรรมยา สมุนไพร เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และหน่วยงานวิจัย เช่น สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ รวมถึงเภสัชกรการตลาด
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรงผ่าน กสพท. (กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย)
- ต้องจบแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ เท่านั้น
- ต้องมีคะแนน O-NET รวม 5 กลุ่มสาระวิชา (วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, ภาษาอังกฤษ, สังคม, ภาษาไทย) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
- สอบวิชาเฉพาะ 30%
- สอบ 9 วิชาสามัญ ใช้ 5 วิชา 70% (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ 40%, คณิตศาสตร์ 20%, ภาษาอังกฤษ 20%, สังคม 10%, ภาษาไทย 10%)
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30% (คะแนนวิชาภาษาไทย, สังคมศึกษา, ภาษาอังกฤษ, คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 30%)
- GAT 10%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 40%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
252, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
21, 000 บาท/เทอม
4 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 7.5 ดี
เภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
เภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทยก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยถือกำเนิดจากโรงเรียนปรุงยาหรือแผนกปรุงยาแห่งโรงเรียนราชแพทยาลัย ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชในปัจจุบัน
สาขาเภสัชอุตสาหการ เรียนเกี่ยวกับการผลิตยาเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งถ้าหากน้องๆ คนไหนชอบทำงานห้องวิจัย การทำยาต่างๆ พี่แนะนำไปให้เรียนสาขานี้เหมาะที่สุดค่ะ โดยการเรียนการสอนในปีที่ 1 น้องจะต้องเรียนแคลคูลัสและเคมีทั่วไป เพื่อเป็นบทนำไปสู่วิชาชีพเภสัชกรรม ในปีที่ 2 ก็จะเป็นรายวิชาเคมีขั้นสูงต่างๆ สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชีวเคมี จุลชีววิทยา กายวิภาคศาสต สรีรวิทยา และจำพวกรายวิชาเภสัชศาสตร์ต่างๆ อาทิ ระบบยาและสุขภาพ คำนวณเภสัช เคมีของยา เภสัชกรรม รวมไปถึงการทดลองทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา อีกด้วย ส่วนปีที่ 3 จะเป็นรายวิชาปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทย์ ปฏิบัติการเภสัชกรรม ปฏิบัติการเภสัชเคมี เภสัชกรรมปฏิบัติ ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนศาสตร์ ในปีนี่น้องๆ ก็จะได้เรื่องของเครื่องไม้เครื่องมือทางเภสัชศาสตร์ ไปจนถึงการวิเคราะห์ตัวยาต่างๆ อาหารและโภชนาการไปพร้อมๆ กัน ปีที่ 4 เป็นศาสตร์ของเภสัชศาสตร์ล่วนๆ อย่างเช่น พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชบำบัด เภสัชเวท นิติเภสัชและจริยธรรมเภสัชฯ เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร์ วิธีวิทยาการวิจัยทางเภสัชศาสตร์ การใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดโรค การเสริมสุขภาพด้วยระบบบริการทางเภสัชกรรม การจัดการทางเภสัชศาสตร์ การประกันคุณภาพและการควบคุมคุณภาพของยา และเป็นการฝึกฝนในภาคปฏิบัติการห้องแลปน้องๆ ไปเรื่อยๆ จนชำนาญอีกด้วย ส่วนในปีที่ 5 นั้นจะมีวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพทางเภสัชศาสตร์เข้ามาเสริมให้ ที่นอกเหนือจากการเรียนเรื่องของหลักการและกระบวนการทางเภสัชอุตสาหกรรม การบริหารการผลิตเภสัชภัณฑ์ ความรู้ทั้งหมดของเภสัชเวทที่ควรรู้ เรียนรู้เรื่องพิษต่างๆ ในรายวิชาพิษวิทยา และการทำโครงงานเภสัชศาสตร์เพื่อเตรียมพอไปสู่ปีสุดท้ายปีที่ 6 น้องๆ จะต้องออกไปการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ซึ่งจะต้องนำความรู้ทั้งหมดที่เรียนมาไปใช้ในส่วนนี้ ยังไม่หมดแค่นั้นยังต้องเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในการฝึกงานมาใช้ในการทำโครงงานเพื่อนำเสนอต่อคณะฯ ก่อนจบการศึกษาด้วยค่ะ
การเรียนเภสัชฯ ไม่ใช่เรียนแค่การจ่ายยาแต่เพียงอย่างเดียว แต่จำเป็นจะต้องรู้ถึงที่มาของมัน และผลที่จะตามของมันด้วย ซึ่งหากน้องๆ ที่สนใจในศาสตร์นี้ ที่คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็เป็นอีกตัวเลือกหนึ่งที่น่าสนใจไม่น้อยเลย เพราะด้วยความเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ ของประเทศ และความเก่าแก่ในด้านวิชาการของคณะฯ ก็การันตีได้ว่าเข้าไปแล้วน้องๆ จะได้ความรู้อย่างเต็มประสิทธิภาพแน่นอนค่ะ
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- ต้องจบแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ เท่านั้น
- ต้องมีคะแนน O-NET รวม 5 กลุ่มสาระวิชา (วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, ภาษาอังกฤษ, สังคม, ภาษาไทย) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
- สอบวิชาเฉพาะ 30%
- สอบ 9 วิชาสามัญ ใช้ 5 วิชา 70% (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ 40%, คณิตศาสตร์ 20%, ภาษาอังกฤษ 20%, สังคม 10%, ภาษาไทย 10%)
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30% (คะแนนวิชาภาษาไทย, สังคมศึกษา, ภาษาอังกฤษ, คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 30%)
- GAT 10%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 40%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
เภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
4 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 7.5 ดี
เภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ