นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
Summary
8.51
รีวิวนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
หากพูดถึงนิเทศศาสตร์ ปัจจุบันยังคงเป็นอันดับต้นๆ เสมอเมื่อมีการจัดทำการสำรวจสาขาที่อยากเรียนมากที่สุด ถึงแม้จะเปิดมานาน แต่ในปัจจุบันแวดวงนิเทศเริ่มเปลี่ยนแปลงให้ทันสมัยอยู่เรื่อยๆ งานเริ่มมีหลากหลายมากขึ้น แต่การแข่งขันการเข้าเรียนยังสูงอยู่เช่นกัน
การที่น้องๆ จะเรียนนิเทศได้ อย่างแรกเลยต้องมีความคิดสร้างสรรค์ สังเกตตัวเองง่ายๆ อย่างเรานั่งดูละครอยู่เรามีความขัดแย้งกับบทบ้างหรือป่าว ต้องหัดคิดนอกกรอบ หรือดูโฆษณาก็คิดตามหรือเข้าใจได้แค่ไหนว่าเขาต้องการจะสื่ออะไรนอกจากขายของ
เมื่อวงการนิเทศศาสตร์ ได้เปลี่ยนจากยุคอนาล็อกเป็นยุคดิจิทัล ยุคสมัยเปลี่ยนหลักสูตรก็ต้องเปลี่ยนตาม ที่สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ ของที่นี่ก็ได้ทำการเปลี่ยนหมดแล้ว และยังปรับหลักสูตรให้เจอทั้งทฤษฎีและปฏิบัติตั้งแต่ปี1 เรียนทั้งการเขียนบท การเล่าเรื่องจากภาพยนตร์ การสัมภาษณ์ การตัดต่อ และการเผยแพร่ออกอากาศ ปี2 จะเริ่มเรียนทักษะผลิตรายการ ปี3 ได้ทำโปรเจคอย่างการทำข่าวในสตูดิโอ ที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่เยอะมาก ปี4 จึงเริ่มฝึกงาน ที่ปีแรกเรียนมากขนาดนี้ เป็นเพราะอยากกระตุ้นให้เด็กๆ ได้รู้ใจตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ ว่าเหมาะกับด้านไหนเป็นพิเศษ ไม่ใช่แค่ชอบตามเพื่อน ส่วนกระบวนสุดท้ายทางสาขาจะส่งเด็กออกไปเข้าไปอยู่ในตลาดนิเทศฯ ซึ่งก็คือการฝึกงาน ฝึกสหกิจ จะเป็นกระบวนสุดท้ายของการเรียน โดยจะจัดการฝึกงานอยู่ที่ ปี4 เทอม2 เพราะจะได้ไม่เป็นการสกัดดาวรุ่ง เพราะเมื่อไปฝึกงาน4 เดือนได้สร้างผลงานถูกใจสถานประกอบการ อาจได้งานทำกันไปเลย ไม่ต้องกลับมาเรียนต่อ นอกจากนั้นยังมีฝึกสหกิจ1 ปี ที่ภายในหนึ่งปี ไม่ต้องเรียนอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย อาจจะเข้ามาบ้างเพื่อติดต่อเอกสารการฝึก เปอร์เซ็นการได้งาน คือ 100% ไม่พลาดแม้แต่คนเดียว
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มีสถานีวิทยุชุมชนของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ FM 91.25 MHz เป็นของตัวเอง
- มีสตูดิโอเพื่อใช้ในการเรียนภาคปฏิบัติ
- มีห้องปฏิบัติการที่เสมือนจริงและมีอุปกรณ์ที่ทันสมัย
จบมาทำงานอะไร
นักจัดรายการวิทยุ, ผู้กำกับการแสดง, นักเขียนบทรายการโทรทัศน์, ผู้ประกาศข่าว ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (ตุลาคม-สิงหาคม)
- สำเร็จการศึกษาชั้นม.6 หรือ เทียบเท่า
- สมัครด้วยตัวเองทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต หรือ ทางอินเตอร์เน็ตที่เว็ปไซต์ http://grade.dpu.ac.th/admissionform
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
220, 500 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
18, 000 - 31, 500 บาท/เทอม
นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ผลงานของสาขา
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
9.00
ความพร้อมของห้องปฎิบัติการและอุปกรณ์การเรียน
8.50
ความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
8.50
สภาพแวดล้อมของสถานที่เรียน
8.50
ความน่าสนใจ (คะแนนจากผู้ใช้)
9.20
Summary
U-Review Score
8.51
มุ่งเน้นประสานทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติด้วยการลงมือปฏิบัติจริงทั้งด้านการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ในห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย เพียบพร้อมด้วยอุปกรณ์การผลิตระบบดิจิตอลที่ทัดเทียมสถานีวิทยุโทรทัศน์ชั้นนำของประเทศ นักศึกษาจะได้ผลิตรายการวิทยุและฝึกจัดรายการวิทยุแบบปฏิบัติจริงทางสถานีวิทยุชุมชนของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ FM 91.25 MHz รวมทั้งยังได้ฝึกรายการโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ อาทิ รายการสารคดี มิวสิควิดีโอ ภาพยนตร์สั้น และ Relity Film ออกอากาศในรายการของสถานีโทรทัศน์ชั้นนำของประเทศ เพื่อฝึกฝนในการประสานทักษะการผลิตด้านต่าง ๆ เช่น การเขียนบท การกำกับการแสดง การจัดแสง การถ่ายทำ คอมพิวเตอร์กราฟิก และการตัดต่อเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการก้าวเข้าสู่การทำงานในโลกวิชาชีพที่แท้จริง
อาชีพ
นักจัดรายการวิทยุ ผู้กำกับการแสดง นักเขียนบทรายการโทรทัศน์ ผู้ประกาศข่าว ทั้งในองค์กรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชน และองค์กรสาธารณประโยชน์
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
สามารถทำงานด้านการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาองค์กรในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรธุรกิจเอกชนต่าง ๆ เช่น นักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน นักประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา ผู้สื่อข่าว นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ นักวิเคราะห์การขาย นักวิจัยและพัฒนา พิธีกรผู้ประกาศ วิทยากรในการฝึกอบรม สามารถเป็นผู้ที่มีบทบาทด้านการสื่อสารของประเทศไม่ว่าจะเป็น นักเขียน พิธีกร ผู้กำกับ นักแสดง หรือผู้ผลิตภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังอาจเริ่มธุรกิจใหม่ ๆ เช่น บริษัทรับผลิตรายการทางวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ บริษัทรับจัดกิจกรรมพิเศษ การผลิตนิตยสารรูปแบบใหม่ การเปิดกิจการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจการสื่อสาร
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
คณะนิเทศศาสตร์ (Faculty of Communication Arts)
ชื่อสาขา
วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ (Radio and Television)
ชื่อปริญญา
นศ.บ. (วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์) (นิเทศศาสตรบัณฑิต (วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์))
รายละเอียด
ประสานทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติด้วยการลงมือปฏิบัติจริงทั้งด้านการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ในห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย เพียบพร้อมด้วยอุปกรณ์การผลิตระบบดิจิตอลที่ทัดเทียมสถานีวิทยุโทรทัศน์ชั้นนำของประเทศ นักศึกษาจะได้ผลิตรายการวิทยุและฝึกจัดรายการวิทยุแบบปฏิบัติจริงทางสถานีวิทยุชุมชนของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ FM 91.25 MHz รวมทั้งยังได้ฝึกรายการโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ อาทิ รายการสารคดี มิวสิควิดีโอ ภาพยนตร์สั้น และ Relity Film ออกอากาศในรายการของสถานีโทรทัศน์ชั้นนำของประเทศ เพื่อฝึกฝนในการประสานทักษะการผลิตด้านต่าง ๆ เช่น การเขียนบท การกำกับการแสดง การจัดแสง การถ่ายทำ คอมพิวเตอร์กราฟิก และการตัดต่อเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการก้าวเข้าสู่การทำงานในโลกวิชาชีพที่แท้จริง
คุณสมบัติ
คุณสมบัติด้านการศึกษา
รับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ปวส.) จากสถาบันที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ หรือการศึกษาอื่นที่เทียบเท่า
คุณสมบัติอื่นๆ
1. ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือมีสติฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
2. ไม่เป็นโรคเรื้อน วัณโรค ติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง โรคพิษสุราเรื้อรัง
3. ไม่เคยต้องโทษจำคุก เว้นแต่ความผิดอันได้กระทำโดยประมาท หรือความผิด
4. ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษา เนื่องจากถูกลงโทษทางวินัย
5. มีผู้ปกครองและมีภูมิลำเนาที่พักอยู่เป็นหลักแหล่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยสามารถ
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
ได้รับการรับรองจาก
สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ผลงานและรางวัล
รางวัลชนะเลิศ ของนักศึกษาสาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ ชั้นปีที่ 3 และอาจารย์ระวีวรรณ ทรัพย์อินทร์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการนี้ ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด MV "สวัสดีประเทศไทย" จากบริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิค ประเทศไทย จำกัด
ดูผลงานและรางวัลเพิ่มเติม
อาชีพ
นักจัดรายการวิทยุ ผู้กำกับการแสดง นักเขียนบทรายการโทรทัศน์ ผู้ประกาศข่าว ทั้งในองค์กรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชน และองค์กรสาธารณประโยชน์
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
สามารถทำงานด้านการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาองค์กรในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรธุรกิจเอกชนต่าง ๆ เช่น นักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน นักประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา ผู้สื่อข่าว นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ นักวิเคราะห์การขาย นักวิจัยและพัฒนา พิธีกรผู้ประกาศ วิทยากรในการฝึกอบรม สามารถเป็นผู้ที่มีบทบาทด้านการสื่อสารของประเทศไม่ว่าจะเป็น นักเขียน พิธีกร ผู้กำกับ นักแสดง หรือผู้ผลิตภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังอาจเริ่มธุรกิจใหม่ ๆ เช่น บริษัทรับผลิตรายการทางวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ บริษัทรับจัดกิจกรรมพิเศษ การผลิตนิตยสารรูปแบบใหม่ การเปิดกิจการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจการสื่อสาร
เรียนต่อ
สามารถศึกษาต่อในระดับสูงกว่าปริญญาตรีได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งด้านนิเทศศาสตร์โดยตรง หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น บริหารธุรกิจ การตลาด เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น
บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับสาขานี้
1. มีความสามารถในการใช้ภาษาติดต่อสื่อสาร มีความรู้ด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2. มีความสนใจทางด้านศิลปะการสื่อ มีความคิดสร้างสรรค์ รักการอ่าน การเขียน
3. มีความรู้กว้างขวางและสนในศึกษาเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่และทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ
4. มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลาอยู่เสมอ กล้าแสดงออก ช่างสังเกต
5. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวได้กับสถานการณ์ที่พร้อมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และต้องเป็นคนที่คล่องแคล่วในการทำงาน
5 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 9.2 ดีเยี่ยม
นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม?
“สนใจเข้าคณะนี้ค่ะ”
เรียนสายศิลป์-ทั่วไปต่อคณะนี้ได้ไหมคะแล้วต้องเกรดเท่าไร
มาย
นักเรียน
22 เม.ย. 64 21:32 น.
“ค่าเทอมถูกเหรอแพง?”
ที่ว่าค่าเทอม 18, 000 - 31, 500 บาทต่อเทอม นี่คิดยังไงเหรอครับอยากรู้ เผือเป็นทางเลือกตัดสินใจถ้าเอนไม่ติดม.รัฐ
Mark MK
บุคคลทั่วไป
29 ก.ย. 59 17:19 น.
“ฝึกงานเสร็จทำงานเลย”
ที่นี่มีการฝึกงานหรือสหกิจ ตอนปี4 เทอม2 คือฝึกงานจบเท่ากับเรียนจบทำงานเลยทันที ก็ดีเหมือนกันนะ น่าสนใจมากเลย
ศศิวิมล หฤดี
บุคคลทั่วไป
29 ก.ย. 59 17:12 น.
“มีอุปกรณ์ครบครัน น่าเรียนค่ะ”
มีสถานีวิทยุเป็นของตัวเองและยังมีห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนภาคปฏิบัติอีกด้วย
แสงวิไล โภคินันท์
บุคคลทั่วไป
19 ก.ย. 59 11:29 น.
นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
รีวิวนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
หากพูดถึงนิเทศศาสตร์ ปัจจุบันยังคงเป็นอันดับต้นๆ เสมอเมื่อมีการจัดทำการสำรวจสาขาที่อยากเรียนมากที่สุด ถึงแม้จะเปิดมานาน แต่ในปัจจุบันแวดวงนิเทศเริ่มเปลี่ยนแปลงให้ทันสมัยอยู่เรื่อยๆ งานเริ่มมีหลากหลายมากขึ้น แต่การแข่งขันการเข้าเรียนยังสูงอยู่เช่นกัน
การที่น้องๆ จะเรียนนิเทศได้ อย่างแรกเลยต้องมีความคิดสร้างสรรค์ สังเกตตัวเองง่ายๆ อย่างเรานั่งดูละครอยู่เรามีความขัดแย้งกับบทบ้างหรือป่าว ต้องหัดคิดนอกกรอบ หรือดูโฆษณาก็คิดตามหรือเข้าใจได้แค่ไหนว่าเขาต้องการจะสื่ออะไรนอกจากขายของ
เมื่อวงการนิเทศศาสตร์ ได้เปลี่ยนจากยุคอนาล็อกเป็นยุคดิจิทัล ยุคสมัยเปลี่ยนหลักสูตรก็ต้องเปลี่ยนตาม ที่สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ ของที่นี่ก็ได้ทำการเปลี่ยนหมดแล้ว และยังปรับหลักสูตรให้เจอทั้งทฤษฎีและปฏิบัติตั้งแต่ปี1 เรียนทั้งการเขียนบท การเล่าเรื่องจากภาพยนตร์ การสัมภาษณ์ การตัดต่อ และการเผยแพร่ออกอากาศ ปี2 จะเริ่มเรียนทักษะผลิตรายการ ปี3 ได้ทำโปรเจคอย่างการทำข่าวในสตูดิโอ ที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่เยอะมาก ปี4 จึงเริ่มฝึกงาน ที่ปีแรกเรียนมากขนาดนี้ เป็นเพราะอยากกระตุ้นให้เด็กๆ ได้รู้ใจตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ ว่าเหมาะกับด้านไหนเป็นพิเศษ ไม่ใช่แค่ชอบตามเพื่อน ส่วนกระบวนสุดท้ายทางสาขาจะส่งเด็กออกไปเข้าไปอยู่ในตลาดนิเทศฯ ซึ่งก็คือการฝึกงาน ฝึกสหกิจ จะเป็นกระบวนสุดท้ายของการเรียน โดยจะจัดการฝึกงานอยู่ที่ ปี4 เทอม2 เพราะจะได้ไม่เป็นการสกัดดาวรุ่ง เพราะเมื่อไปฝึกงาน4 เดือนได้สร้างผลงานถูกใจสถานประกอบการ อาจได้งานทำกันไปเลย ไม่ต้องกลับมาเรียนต่อ นอกจากนั้นยังมีฝึกสหกิจ1 ปี ที่ภายในหนึ่งปี ไม่ต้องเรียนอยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย อาจจะเข้ามาบ้างเพื่อติดต่อเอกสารการฝึก เปอร์เซ็นการได้งาน คือ 100% ไม่พลาดแม้แต่คนเดียว
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มีสตูดิโอเพื่อใช้ในการเรียนภาคปฏิบัติ
- มีห้องปฏิบัติการที่เสมือนจริงและมีอุปกรณ์ที่ทันสมัย
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- สำเร็จการศึกษาชั้นม.6 หรือ เทียบเท่า
- สมัครด้วยตัวเองทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต หรือ ทางอินเตอร์เน็ตที่เว็ปไซต์ http://grade.dpu.ac.th/admissionform
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
อาชีพ
นักจัดรายการวิทยุ ผู้กำกับการแสดง นักเขียนบทรายการโทรทัศน์ ผู้ประกาศข่าว ทั้งในองค์กรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชน และองค์กรสาธารณประโยชน์
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
สามารถทำงานด้านการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาองค์กรในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรธุรกิจเอกชนต่าง ๆ เช่น นักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน นักประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา ผู้สื่อข่าว นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ นักวิเคราะห์การขาย นักวิจัยและพัฒนา พิธีกรผู้ประกาศ วิทยากรในการฝึกอบรม สามารถเป็นผู้ที่มีบทบาทด้านการสื่อสารของประเทศไม่ว่าจะเป็น นักเขียน พิธีกร ผู้กำกับ นักแสดง หรือผู้ผลิตภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังอาจเริ่มธุรกิจใหม่ ๆ เช่น บริษัทรับผลิตรายการทางวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ บริษัทรับจัดกิจกรรมพิเศษ การผลิตนิตยสารรูปแบบใหม่ การเปิดกิจการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจการสื่อสาร
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
รับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ปวส.) จากสถาบันที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ หรือการศึกษาอื่นที่เทียบเท่า
คุณสมบัติอื่นๆ
1. ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือมีสติฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
2. ไม่เป็นโรคเรื้อน วัณโรค ติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง โรคพิษสุราเรื้อรัง
3. ไม่เคยต้องโทษจำคุก เว้นแต่ความผิดอันได้กระทำโดยประมาท หรือความผิด
4. ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษา เนื่องจากถูกลงโทษทางวินัย
5. มีผู้ปกครองและมีภูมิลำเนาที่พักอยู่เป็นหลักแหล่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยสามารถ
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
ดูผลงานและรางวัลเพิ่มเติม
2. มีความสนใจทางด้านศิลปะการสื่อ มีความคิดสร้างสรรค์ รักการอ่าน การเขียน
3. มีความรู้กว้างขวางและสนในศึกษาเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่และทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ
4. มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลาอยู่เสมอ กล้าแสดงออก ช่างสังเกต
5. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวได้กับสถานการณ์ที่พร้อมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และต้องเป็นคนที่คล่องแคล่วในการทำงาน
5 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 9.2 ดีเยี่ยม
นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม?
เรียนสายศิลป์-ทั่วไปต่อคณะนี้ได้ไหมคะแล้วต้องเกรดเท่าไร
มาย
ที่ว่าค่าเทอม 18, 000 - 31, 500 บาทต่อเทอม นี่คิดยังไงเหรอครับอยากรู้ เผือเป็นทางเลือกตัดสินใจถ้าเอนไม่ติดม.รัฐ
Mark MK
ที่นี่มีการฝึกงานหรือสหกิจ ตอนปี4 เทอม2 คือฝึกงานจบเท่ากับเรียนจบทำงานเลยทันที ก็ดีเหมือนกันนะ น่าสนใจมากเลย
ศศิวิมล หฤดี
มีสถานีวิทยุเป็นของตัวเองและยังมีห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนภาคปฏิบัติอีกด้วย
แสงวิไล โภคินันท์
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ