สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
Summary
8.55
รีวิวสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ปี 1 จะเน้นให้เขียนโปรแกรมภาษาจาวาได้คล่อง โดยการเรียนแบบ Active Learning ทำให้สนุกและท้าทายกับการเขียนโปรแกรม จากวิชาที่แสนยากในสถาบันอื่น กลายเป็นวิชาที่นักศึกษาชอบที่สุด และมี นศ.เขียนโปรแกรมได้คล่องกว่า 90% และในช่วงปิดเทอมปี 1 ปี 2 จะให้ไปฝึกงานตามองค์กรชั้นนำ เช่น Microsoft, NECTEC, บ.เน็ตเวิร์ก หรือ ที่ชมรมโรบอท เพื่อให้ค้นหาความชอบของตัวเอง และค้นหาเป้าหมายในชีวิต เพราะชีวิตในมหาลัยควรได้ลองผิดลองถูกให้หมด เป็นการนำแนวคิดแบบ dual system ของเยอรมันเข้ามาใช้
ปี 2 จะเน้นให้สร้างผลงานด้านฮาร์ดแวร์ และหุ่นยนต์ ผ่านโครงงานแบบ(บูรณาการ)ร่วมกันหลายวิชาตัวแรก
ปี 3 จะเน้นให้สร้างผลงานด้านซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลบนและเน็ตเวิร์กหลากหลาย และทำงานร่วมกับสมาร์ทโฟน และออกแบบแผนธุรกิจให้กับชิ้นงาน ด้วยแนวคิด Design Thinking ของ Standford และแนวคิด Lean Startup ที่สร้างความสำเร็จให้กับบริษัท Startup ต่างๆ มากแล้ว โดยผ่านการทำโครงงานร่วมตัวที่ 2 จากนั้นปิดเทอมปี 3 ไปฝึกงานในบริษัทที่ตนเองเลือก เพราะได้ลองงานครบทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และเน็ตเวิร์ก แล้ว เวลานี้จึงเหมาะที่จะเข้าไปทำงานตามองค์กรที่ตัวเองใฝ่ฝัน เพื่อทดลองว่าเหมาะกับตัวเองจริงหรือไม่
ปี 4 จะได้สร้างชิ้นงานเป็นของตนเองตามความสนใจเป็นโปรเจ็คจบ พร้อมเขียนแผนธุรกิจ และนำออกไป pitching ส่งเข้าประกวดระดับชาติ หรือ ตีพิมพ์เป็นผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ เด็กๆของเราแทบทุกคนจะมีรางวัลหรืองานตีพิมพ์ติดตัวไปเป็น profile ตอนนี้ก็ร่วมร้อยผลงาน
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- เป็นหนึ่งในสาขาอาชีพที่เป็นที่ต้องการมากที่สุดของประเทศไทย มีอัตราเงินเดือนสูง และมีสายงานที่หลากหลาย
- เป็นสาขาที่ตอบโจทย์เพื่อผลักดันประเทศไทย 4.0 โดยเป็นการเสริมความแข็งแกร่งด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านดิจิทอล
จบมาทำงานอะไร
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลายไม่ว่าจะเป็น
- นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบงาน
- วิศวกรคอมพิวเตอร์
- วิศวกรระบบ
- ผู้บริหารระบบงานสารสนเทศในหน่วยงานต่างๆ ทั้งของรัฐ เอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ
- ประกอบธุรกิจส่วนตัว/เจ้าของกิจการ
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
300,000 บาท
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
รีวิวสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ปี 2 จะเน้นให้สร้างผลงานด้านฮาร์ดแวร์ และหุ่นยนต์ ผ่านโครงงานแบบ(บูรณาการ)ร่วมกันหลายวิชาตัวแรก
ปี 3 จะเน้นให้สร้างผลงานด้านซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลบนและเน็ตเวิร์กหลากหลาย และทำงานร่วมกับสมาร์ทโฟน และออกแบบแผนธุรกิจให้กับชิ้นงาน ด้วยแนวคิด Design Thinking ของ Standford และแนวคิด Lean Startup ที่สร้างความสำเร็จให้กับบริษัท Startup ต่างๆ มากแล้ว โดยผ่านการทำโครงงานร่วมตัวที่ 2 จากนั้นปิดเทอมปี 3 ไปฝึกงานในบริษัทที่ตนเองเลือก เพราะได้ลองงานครบทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และเน็ตเวิร์ก แล้ว เวลานี้จึงเหมาะที่จะเข้าไปทำงานตามองค์กรที่ตัวเองใฝ่ฝัน เพื่อทดลองว่าเหมาะกับตัวเองจริงหรือไม่
ปี 4 จะได้สร้างชิ้นงานเป็นของตนเองตามความสนใจเป็นโปรเจ็คจบ พร้อมเขียนแผนธุรกิจ และนำออกไป pitching ส่งเข้าประกวดระดับชาติ หรือ ตีพิมพ์เป็นผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ เด็กๆของเราแทบทุกคนจะมีรางวัลหรืองานตีพิมพ์ติดตัวไปเป็น profile ตอนนี้ก็ร่วมร้อยผลงาน
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- เป็นสาขาที่ตอบโจทย์เพื่อผลักดันประเทศไทย 4.0 โดยเป็นการเสริมความแข็งแกร่งด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านดิจิทอล
จบมาทำงานอะไร
- นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบงาน
- วิศวกรคอมพิวเตอร์
- วิศวกรระบบ
- ผู้บริหารระบบงานสารสนเทศในหน่วยงานต่างๆ ทั้งของรัฐ เอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ
- ประกอบธุรกิจส่วนตัว/เจ้าของกิจการ
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
คอมพิวเตอร์ คือ ส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ที่เรามิอาจหลีกเลี่ยงได้และ เริ่มมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เข้ามามีบทบาท ทำให้มีตลาดงานที่กว้างขึ้นตามไปด้วย เมื่อคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิต จึงไม่แปลกที่จะมีสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นและ กลายเป็นสาขาที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจจนติดอันดับ สาขายอดฮิต
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ปี 2 จะเน้นให้สร้างผลงานด้านฮาร์ดแวร์ และหุ่นยนต์ ผ่านโครงงานแบบ(บูรณาการ)ร่วมกันหลายวิชาตัวแรก
ปี 3 จะเน้นให้สร้างผลงานด้านซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลบนและเน็ตเวิร์กหลากหลาย และทำงานร่วมกับสมาร์ทโฟน และออกแบบแผนธุรกิจให้กับชิ้นงาน ด้วยแนวคิด Design Thinking ของ Standford และแนวคิด Lean Startup ที่สร้างความสำเร็จให้กับบริษัท Startup ต่างๆ มากแล้ว โดยผ่านการทำโครงงานร่วมตัวที่ 2 จากนั้นปิดเทอมปี 3 ไปฝึกงานในบริษัทที่ตนเองเลือก เพราะได้ลองงานครบทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และเน็ตเวิร์ก แล้ว เวลานี้จึงเหมาะที่จะเข้าไปทำงานตามองค์กรที่ตัวเองใฝ่ฝัน เพื่อทดลองว่าเหมาะกับตัวเองจริงหรือไม่
ปี 4 จะได้สร้างชิ้นงานเป็นของตนเองตามความสนใจเป็นโปรเจ็คจบ พร้อมเขียนแผนธุรกิจ และนำออกไป pitching ส่งเข้าประกวดระดับชาติ หรือ ตีพิมพ์เป็นผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ เด็กๆของเราแทบทุกคนจะมีรางวัลหรืองานตีพิมพ์ติดตัวไปเป็น profile ตอนนี้ก็ร่วมร้อยผลงาน
สอนเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติ ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่มวิชา ดังนี้
1. วิศวกรรมระบบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
ไมโครคอนโทรลเลอร์และระบบสมองกลฝังตัว
2. วิศวกรรมระบบซอฟต์แวร์
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
การพัฒนาโปรแกรมบนสมาร์ทโฟน
การพัฒนาระบบสำหรับองค์กรขนาดใหญ่
วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการบริหารโครงการ
3. วิศวกรรมโครงข่ายสารสนเทศ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งแบบมีสายและไร้สาย
การกำกับดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- เป็นสาขาที่ตอบโจทย์เพื่อผลักดันประเทศไทย 4.0 โดยเป็นการเสริมความแข็งแกร่งด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านดิจิทอล
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
สำเร็จการศึกษา ม.6
ตลอดหลักสูตร ประมาณ 300,000 บาท
ชนะเลิศการแข่งขันหุ่นยนต์เอบียู ชิงแชมป์ประเทศไทย 6 สมัยซ้อนตั้งแต่ 2552 – 2557 ได้เป็นตัวแทนไปแข่งขันระดับนานาชาติ
รางวัลชนะเลิศการแข่งขันหุ่นยนต์ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 2559 จากรายการสมรภูมิไอเดีย ได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
รางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศอันดับสอง Supreme Complex Robotics 2015 ระดับบุคคลทั่วไป แข่งขันระหว่างวันที่ 9 – 11 ตุลาคม 2558
รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งและรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง การแข่งขัน หุ่นยนต์ CRU Robot 2015 แข่งขันระหว่าง18พฤศจิกายน 2558
รางวัลสถิติสูงสุด จากการแข่งขัน Honda Econo Power Contest 14 ในประเภทรถประดิษฐ์ ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และรางวัลสถิติสูงสุดอันดับที่ 1 ระดับอุดมศึกษา 17 – 19 กุมภาพันธ์ 2555
ผลงานในระดับโลก
รางวัลสถิติสูงที่สุดอันดับสอง Shell-EcoMarathon Asia 2015 ประเภทรถต้นแบบ Alternative Gasoline Fuel Award for Prototype Car แข่งขันระหว่างวันที่ 26 กุมภาพันธ์ – 1 มีนาคม 2558
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 และรางวัล Best Design จากการแข่งขัน หุ่นยนต์นานาชาติ ABU Asia-Pacific Robot Contest India 2014 ‘หุ่นยนต์ อุ่นไอรัก’ A Salute to Parenthood ระหว่างวันที่ 23 – 24 สิงหาคม 2557 ซึ่งจัดโดยสหภาพวิทยุและโทรทัศน์แห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Asia-Pacific Broadcasting Union) ที่เมือง Pune ประเทศอินเดีย
รางวัล The Second Highest Record, New Challenge Category จากการแข่งขัน Soichiro Honda Cup 2012 ระหว่างวันที่ 14 – 16 กันยายน 2555 จัดโดยบริษัท Honda ที่สนามแข่งรถนานาชาติ Twin Ring Moteki Circuit, Japan
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากการแข่งขัน หุ่นยนต์นานาชาติ ABU Asia-Pacific Robot Contest Hong Kong 2012 ‘พิชิตขุนเขา ชิงชัยซาลาเปาแห่งสันติภาพ’ Peng On Dai Gat ระหว่างวันที่ 18 – 19 สิงหาคม 2555 ซึ่งจัดโดยสหภาพวิทยุและโทรทัศน์แห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Asia-Pacific Broadcasting Union) ที่เขตปกครองพิเศษฮ่องกง
รางวัลสถิติสูงที่สุดระดับเอเชีย Shell-EcoMarathon Asia 2012 ประเภทรถต้นแบบ Alternative Gasoline Fuel Award for Prototype Car แข่งขันระหว่างวันที่ 3 – 7 กรกฎาคม 2555 ซึ่งจัดโดยบริษัท Royal Dutch Shell ร่วมกับกระทรวงพลังงาน ประเทศมาเลเซีย ที่สนามแข่งรถนานาชาติเซปัง
รางวัลชนะเลิศและ Best Idea จากการแข่งขัน หุ่นยนต์นานาชาติ ABU Asia-Pacific Robot Contest Thailand 2011 ‘ลอยกระทง จุดประกายความสุขด้วยมิตรภาพ’ Loy Krathong, Lighting Happiness with Friendship ระหว่างวันที่ 26 - 29 สิงหาคม 2554 ซึ่งจัดโดยสหภาพวิทยุและโทรทัศน์แห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Asia-Pacific Broadcasting Union) ที่กรุงเทพมหานคร
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ