สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รีวิวสาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับการจัดการด้านการเงินให้มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นให้สามารถนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์และเครื่องมือในการวิเคราะห์มาประยุกต์เข้ากับความรู้ด้านการเงินทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ พูดง่ายๆ คือ เรียนเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรซึ่งก็คือ "เงินทุน" ที่มีอยู่อย่างจำกัด ภายใต้ความเสี่ยงและความไม่เท่าเทียมกัน(ข้อจำกัด) เพราะฉะนั้นเศรษฐศาสตร์การเงินจึงเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์กิจกรรมในตลาดการเงิน ซึ่งได้แก่ ตลาดเงิน ตลาดทุน และตลาดตราสารอนุพันธ์ ตลอดจนกิจกรรมการจัดหาเงินทุนของกิจการต่างๆ
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
วิชาทางเศรษฐศาสตร์การเงิน เช่น เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ทฤษฎีและนโยบายการเงิน และบูรณาการเข้ากับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายการเงินและสถาบันการเงิน การจัดการทางการเงิน การเงินธุรกิจระหว่างประเทศ เป็นต้น โดยองค์ความรู้ของแต่ละวิชาจะช่วยให้มีความแข็งแกร่งในการเข้าสู่การประกอบธุรกรรมทางเศรษฐกิจ และมีความรอบรู้ในด้านการบริหารจัดการทางการเงินอย่างเป็นระบบ
จบมาทำงานอะไร
- ผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ สามารถประกอบอาชีพได้กว้างขวาง อาทินักเศรษฐศาสตร์นักวิจัย นักวิเคราะห์นโยบาย
นักวิเคราะห์การขาย นักวิเคราะห์การลงทุน นักธุรกิจ สื่อสารมวลชน ข้าราชการ นักการเมือง หรือ ประกอบอาชีพอิสระ
สมัครเรียนทำอย่างไร
- ผู้สมัครต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษา หรือ ผู้ที่กำลังศึกษา อยู่ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ต้องมีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า 2.75
- ผู้สมัครที่กำลังศึกษา ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่ ม.4 - ม.6 (ภาค 1) รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 2.75
- สำหรับผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ต้องมีคะแนนเฉลี่ยเทียบเท่า 2.75 ( จากคะแนนสูงสุด 4.00)
หมายเหตุ โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐานผลการเรียนให้คณะเศรษฐศาสตร์ก่อนวันเปิดภาคภาคศึกษา โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและผ่านการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐาน ผลการเรียนที่คณะเศรษฐศาสตร์ ก่อนวันเปิดภาคการศึกษา
สอบข้อเขียน วิชาที่ใช้สอบข้อเขียน ( เป็นชุดปรนัยและอัตนัย) ประกอบด้วย:
คณิตศาสตร์และสถิติ
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
120,000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
15,000 ต่อเทอม
สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดระเบียบทางเศรษฐกิจโลกใหม่ หลังกระแสโลกาภิวัตน์ ภาวะความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงในบริบทของสังคมโดยเฉพาะ สังคมของผู้สูงอายุ เป็นต้น สถานการณ์เหล่านี้เป็นปัจจัยที่ต้องอาศัยการศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อแก้ปัญหาโดย พิจารณาในระดับจุลภาคและมหภาค ดังนั้น คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะหน่วยงาน จัดการเรียนการสอนด้านเศรษฐศาสตร์ที่ส าคัญของประเทศไทย จึงเห็นความจ าเป็นในการปรับปรุงหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตเศรษฐศาสตร์ที่มีความเข้าใจในการเชื่อมโยงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตอบสนองต่อสถานการณ์ปัจจุบัน และปัจจัยที่จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ในด้านสังคมและวัฒนธรรมนั้น กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้เกิดความเชื่อมโยงในด้านสังคมและ วัฒนธรรมภายใต้ความเชื่อมโยงทางเทคโนโลยีการสื่อสารในด้านต่างๆ ความเชื่อมโยงดังกล่าวส่งผลต่อมิติการ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะส าคัญและส่งผลต่อเศรษฐกิจ เช่น การเติบโตของวัฒนธรรมเกาหลีกับเศรษฐกิจ เกาหลี ส าหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการกล่าวถึงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ซึ่งไม่เพียงแต่การผลิตในภาคอุตสาหกรรม เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการผลิตในภาคเกษตรและบริการต่างๆ ที่ต้องอาศัยความเข้าใจในกลุ่มลูกค้า และการ บริหารจัดการการผลิตและทรัพยากรการผลิต เป็นต้น ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์นั้นสังคมและวัฒนธรรมเป็น ปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ดังนั้น ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรมจึงเป็นบริบท ส าคัญในการก าหนดทิศทางของการเปลี่ยนแปลงในด้านอื่นๆ ของประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงพยายามปรับปรุงหลักสูตรโดยเชื่อมโยงปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรมผ่านการ เรียนการสอนในวิชาเศรษฐศาสตร์ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งบัณฑิต และองค์กรผู้ใช้บัณฑิต รวมถึงการสร้าง มาตรฐานของหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตให้เป็นที่ยอมรับในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลายมากขึ้นใน อนาคต
วิเคราะห์ข้อมูล U-Review Score
โดย AdmissionPremium.com
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
คณะเศรษฐศาสตรบัณฑิต (Faculty of Economics)
ชื่อสาขา
เศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics)
รายละเอียด
เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับการจัดการด้านการเงินให้มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นให้สามารถนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์และเครื่องมือในการวิเคราะห์มาประยุกต์เข้ากับความรู้ด้านการเงินทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ พูดง่ายๆ คือ เรียนเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรซึ่งก็คือ "เงินทุน" ที่มีอยู่อย่างจำกัด ภายใต้ความเสี่ยงและความไม่เท่าเทียมกัน(ข้อจำกัด) เพราะฉะนั้นเศรษฐศาสตร์การเงินจึงเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์กิจกรรมในตลาดการเงิน ซึ่งได้แก่ ตลาดเงิน ตลาดทุน และตลาดตราสารอนุพันธ์ ตลอดจนกิจกรรมการจัดหาเงินทุนของกิจการต่างๆ
วิชาทางเศรษฐศาสตร์การเงิน เช่น เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ทฤษฎีและนโยบายการเงิน และบูรณาการเข้ากับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายการเงินและสถาบันการเงิน การจัดการทางการเงิน การเงินธุรกิจระหว่างประเทศ เป็นต้น โดยองค์ความรู้ของแต่ละวิชาจะช่วยให้มีความแข็งแกร่งในการเข้าสู่การประกอบธุรกรรมทางเศรษฐกิจ และมีความรอบรู้ในด้านการบริหารจัดการทางการเงินอย่างเป็นระบบ
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษา หรือ ผู้ที่กำลังศึกษา อยู่ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า
- ผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ต้องมีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า 2.75
- ผู้สมัครที่กำลังศึกษา ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่ ม.4 - ม.6 (ภาค 1) รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 2.75
- สำหรับผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ต้องมีคะแนนเฉลี่ยเทียบเท่า 2.75 ( จากคะแนนสูงสุด 4.00)
หมายเหตุ โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐานผลการเรียนให้คณะเศรษฐศาสตร์ก่อนวันเปิดภาคภาคศึกษา โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและผ่านการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐาน ผลการเรียนที่คณะเศรษฐศาสตร์ ก่อนวันเปิดภาคการศึกษา
สอบข้อเขียน วิชาที่ใช้สอบข้อเขียน ( เป็นชุดปรนัยและอัตนัย) ประกอบด้วย:
คณิตศาสตร์และสถิติ
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
ได้รับการรับรองจาก
สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
อาชีพ
ผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ สามารถประกอบอาชีพได้กว้างขวาง อาทินักเศรษฐศาสตร์นักวิจัย นักวิเคราะห์นโยบาย
นักวิเคราะห์การขาย นักวิเคราะห์การลงทุน นักธุรกิจ สื่อสารมวลชน ข้าราชการ นักการเมือง หรือ ประกอบอาชีพอิสระ
สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รีวิวสาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
จบมาทำงานอะไร
นักวิเคราะห์การขาย นักวิเคราะห์การลงทุน นักธุรกิจ สื่อสารมวลชน ข้าราชการ นักการเมือง หรือ ประกอบอาชีพอิสระ
สมัครเรียนทำอย่างไร
- ผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ต้องมีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า 2.75
- ผู้สมัครที่กำลังศึกษา ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่ ม.4 - ม.6 (ภาค 1) รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 2.75
- สำหรับผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ต้องมีคะแนนเฉลี่ยเทียบเท่า 2.75 ( จากคะแนนสูงสุด 4.00)
หมายเหตุ โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐานผลการเรียนให้คณะเศรษฐศาสตร์ก่อนวันเปิดภาคภาคศึกษา โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและผ่านการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐาน ผลการเรียนที่คณะเศรษฐศาสตร์ ก่อนวันเปิดภาคการศึกษา
สอบข้อเขียน วิชาที่ใช้สอบข้อเขียน ( เป็นชุดปรนัยและอัตนัย) ประกอบด้วย:
คณิตศาสตร์และสถิติ
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ในด้านสังคมและวัฒนธรรมนั้น กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้เกิดความเชื่อมโยงในด้านสังคมและ วัฒนธรรมภายใต้ความเชื่อมโยงทางเทคโนโลยีการสื่อสารในด้านต่างๆ ความเชื่อมโยงดังกล่าวส่งผลต่อมิติการ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะส าคัญและส่งผลต่อเศรษฐกิจ เช่น การเติบโตของวัฒนธรรมเกาหลีกับเศรษฐกิจ เกาหลี ส าหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการกล่าวถึงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ซึ่งไม่เพียงแต่การผลิตในภาคอุตสาหกรรม เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการผลิตในภาคเกษตรและบริการต่างๆ ที่ต้องอาศัยความเข้าใจในกลุ่มลูกค้า และการ บริหารจัดการการผลิตและทรัพยากรการผลิต เป็นต้น ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์นั้นสังคมและวัฒนธรรมเป็น ปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ดังนั้น ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรมจึงเป็นบริบท ส าคัญในการก าหนดทิศทางของการเปลี่ยนแปลงในด้านอื่นๆ ของประเทศ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงพยายามปรับปรุงหลักสูตรโดยเชื่อมโยงปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรมผ่านการ เรียนการสอนในวิชาเศรษฐศาสตร์ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งบัณฑิต และองค์กรผู้ใช้บัณฑิต รวมถึงการสร้าง มาตรฐานของหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิตให้เป็นที่ยอมรับในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลายมากขึ้นใน อนาคต
วิเคราะห์ข้อมูล U-Review Score
โดย AdmissionPremium.com
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
วิชาทางเศรษฐศาสตร์การเงิน เช่น เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ทฤษฎีและนโยบายการเงิน และบูรณาการเข้ากับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายการเงินและสถาบันการเงิน การจัดการทางการเงิน การเงินธุรกิจระหว่างประเทศ เป็นต้น โดยองค์ความรู้ของแต่ละวิชาจะช่วยให้มีความแข็งแกร่งในการเข้าสู่การประกอบธุรกรรมทางเศรษฐกิจ และมีความรอบรู้ในด้านการบริหารจัดการทางการเงินอย่างเป็นระบบ
- ผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ต้องมีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า 2.75
- ผู้สมัครที่กำลังศึกษา ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่ ม.4 - ม.6 (ภาค 1) รวม 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 2.75
- สำหรับผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ต้องมีคะแนนเฉลี่ยเทียบเท่า 2.75 ( จากคะแนนสูงสุด 4.00)
หมายเหตุ โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐานผลการเรียนให้คณะเศรษฐศาสตร์ก่อนวันเปิดภาคภาคศึกษา โดยผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนและผ่านการสัมภาษณ์แล้วให้ส่งหลักฐาน ผลการเรียนที่คณะเศรษฐศาสตร์ ก่อนวันเปิดภาคการศึกษา
สอบข้อเขียน วิชาที่ใช้สอบข้อเขียน ( เป็นชุดปรนัยและอัตนัย) ประกอบด้วย:
คณิตศาสตร์และสถิติ
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
นักวิเคราะห์การขาย นักวิเคราะห์การลงทุน นักธุรกิจ สื่อสารมวลชน ข้าราชการ นักการเมือง หรือ ประกอบอาชีพอิสระ
สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน (Monetary and Financial Economics) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ