เศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2513 โดยแยกออกมาจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เพราะมองความความสำคัญบางเรื่องไป เป็นต้นว่า เรื่องความจำเป็นที่จะต้องมีความคล่องตัวเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร และเรื่องของสภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งอยู่ในระยะของการเร่งพัฒนา
เศรษฐศาสตร์ถือว่าวิชาที่ว่าปากท้องของคนในสังคม ฉะนั้นการเรียนการสอนจึงต้องเกี่ยวข้องกับกิจกรรมอันเป็นพื้นฐานของมนุษย์ กล่าวคือ การผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน ฯลฯ ซึ่งหน้าที่อันสำคัญของเศรษฐศาสตร์ก็คือ การที่จะต้องทำความเข้าใจพฤติกรรมเหล่านี้ หาชุดคำอธิบายอย่างมีเหตุและผล เพราะการทำความเข้าใจพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์หนึ่งๆ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนด้วยกัน 9 วิชาเอก ให้น้องๆ ได้เลือกเรียนตามความสนใจ ดังนี้
1. เศรษฐศาสตร์สาธารณะ เป็นการเรียนในเรื่องของนโยบายต่างๆของรัฐบาล การแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน
2. เศรษฐศาสตร์การเงิน เนื้อหาวิชาที่เรียนจะเกี่ยวข้องกับตลาดการเงินในโลก เรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการกับเงิน รวมทั้งเรียนเกี่ยวกับการบริหารเงินโดยผ่านการเรียนรู้ในสินทรัพย์แบบต่างๆ
3. เศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์ สำหรับใครที่จะเรียนสาขาวิชานี้ต้องมีความถนัดและรักในคณิตศาสตร์ เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ต้องใช้คณิตศาสตร์ในการสร้างโมเดลต่างๆขึ้นมา
4. เศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ เป็นการเรียนในเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ เรียนวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับแรงงาน
5. เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เนื้อหาจะเน้นหนักไปทางด้านการเรียนเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งวิธีการแก้ไข
6. เศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร เรียนเกี่ยวกับการพัฒนาในทางการเกษตรโดยใช้หลักวิชาด้านเศรษฐศาสตร์
7. เศรษฐศาสตร์ทฤษฎี เนื้อหาส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนด้านทฤษฎีชั้นสูงในวิชาเศรษฐศาสตร์ และก็ต้องมีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มาพอสมควร เพราะต้องใช้ในการเรียนมากพอสมควร
8. เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ เป็นการเรียนเน้นไปในด้านพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนและพัฒนาประเทศชาติให้มีความก้าวหน้า
9. เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เรียนเกี่ยวกับทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ การติดต่อค้าขายระหว่างกันในประเทศต่างๆ โดยก็ต้องเรียนด้านนโยบายการค้าระหว่างประเทศด้วย
นอกจากจะมีวิชาให้เลือกเรียนถึง 9 สาขาแล้ว น้องๆ ยังสามารถเลือกเรียนแบบวิชาเอกเดี่ยวหรือวิชาเอกโท ซึ่งเอกเดี่ยวก็คือการเรียนเศรษฐศาสตร์อย่างเดียวแบบเน้นๆ ส่วนเอกโทก็คือเลือกเรียนข้ามศาสตร์จากคณะอื่น ได้แก่ รัฐศาสตร์, นิเทศศาสตร์, อักษรศาสตร์, จิตวิทยา และ วิทยาศาสตร์
จบมาทำงานอะไร
นักเศรษฐศาสตร์นักวิจัย, นักวิเคราะห์นโยบาย, นักวิเคราะห์การขาย, นักวิเคราะห์การลงทุน, นักธุรกิจ, สื่อสารมวลชน, ข้าราชการ, นักการเมือง, อาชีพอิสระ ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (มีนาคม)
- กำลังศึกษาระดับชั้น ม.6
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.75
- มีผลคะแนนสอบวิชา GAT, PAT1(คณิตศาสตร์)
- มีผลคะแนนวิชาสามัญ (สังคมศึกษา)
- ผ่านการสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
136, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
17, 000 บาท/เทอม
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม
เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
เศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2513 โดยแยกออกมาจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เพราะมองความความสำคัญบางเรื่องไป เป็นต้นว่า เรื่องความจำเป็นที่จะต้องมีความคล่องตัวเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร และเรื่องของสภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งอยู่ในระยะของการเร่งพัฒนา
เศรษฐศาสตร์ถือว่าวิชาที่ว่าปากท้องของคนในสังคม ฉะนั้นการเรียนการสอนจึงต้องเกี่ยวข้องกับกิจกรรมอันเป็นพื้นฐานของมนุษย์ กล่าวคือ การผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน ฯลฯ ซึ่งหน้าที่อันสำคัญของเศรษฐศาสตร์ก็คือ การที่จะต้องทำความเข้าใจพฤติกรรมเหล่านี้ หาชุดคำอธิบายอย่างมีเหตุและผล เพราะการทำความเข้าใจพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์หนึ่งๆ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนด้วยกัน 9 วิชาเอก ให้น้องๆ ได้เลือกเรียนตามความสนใจ ดังนี้
1. เศรษฐศาสตร์สาธารณะ เป็นการเรียนในเรื่องของนโยบายต่างๆของรัฐบาล การแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน
2. เศรษฐศาสตร์การเงิน เนื้อหาวิชาที่เรียนจะเกี่ยวข้องกับตลาดการเงินในโลก เรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการกับเงิน รวมทั้งเรียนเกี่ยวกับการบริหารเงินโดยผ่านการเรียนรู้ในสินทรัพย์แบบต่างๆ
3. เศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์ สำหรับใครที่จะเรียนสาขาวิชานี้ต้องมีความถนัดและรักในคณิตศาสตร์ เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ต้องใช้คณิตศาสตร์ในการสร้างโมเดลต่างๆขึ้นมา
4. เศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์ เป็นการเรียนในเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ เรียนวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับแรงงาน
5. เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เนื้อหาจะเน้นหนักไปทางด้านการเรียนเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งวิธีการแก้ไข
6. เศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร เรียนเกี่ยวกับการพัฒนาในทางการเกษตรโดยใช้หลักวิชาด้านเศรษฐศาสตร์
7. เศรษฐศาสตร์ทฤษฎี เนื้อหาส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนด้านทฤษฎีชั้นสูงในวิชาเศรษฐศาสตร์ และก็ต้องมีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มาพอสมควร เพราะต้องใช้ในการเรียนมากพอสมควร
8. เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ เป็นการเรียนเน้นไปในด้านพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนและพัฒนาประเทศชาติให้มีความก้าวหน้า
9. เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เรียนเกี่ยวกับทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ การติดต่อค้าขายระหว่างกันในประเทศต่างๆ โดยก็ต้องเรียนด้านนโยบายการค้าระหว่างประเทศด้วย
นอกจากจะมีวิชาให้เลือกเรียนถึง 9 สาขาแล้ว น้องๆ ยังสามารถเลือกเรียนแบบวิชาเอกเดี่ยวหรือวิชาเอกโท ซึ่งเอกเดี่ยวก็คือการเรียนเศรษฐศาสตร์อย่างเดียวแบบเน้นๆ ส่วนเอกโทก็คือเลือกเรียนข้ามศาสตร์จากคณะอื่น ได้แก่ รัฐศาสตร์, นิเทศศาสตร์, อักษรศาสตร์, จิตวิทยา และ วิทยาศาสตร์
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- กำลังศึกษาระดับชั้น ม.6
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.75
- มีผลคะแนนสอบวิชา GAT, PAT1(คณิตศาสตร์)
- มีผลคะแนนวิชาสามัญ (สังคมศึกษา)
- ผ่านการสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
เศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม
เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ