วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รีวิววิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
เทคโนโลยีและชีวิตประจำวันกลายเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันมากขึ้น ที่ไม่ใช่แค่มือถือ แท็บแล็ต เกมคอนโซลอีกต่อไป แต่ระบบซอฟต์แวร์ได้รับการพัฒนาให้ฝังอยู่กับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ รอบตัวเราอยู่เรื่อยๆ ทำให้ตลาดแรงงานด้านซอฟต์แวร์ทั้งในและต่างประเทศกำลังต้องการบุคลากรที่มีความสามารถ มีความชำนาญในศาสตร์นี้อย่างมาก
ที่สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาลัยนานาชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้เปิดการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์แยกย่อยออกไปอีก 2 แขนง คือ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) และ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ส าหรับระบบเคลื่อนที่ (Mobile Software Engineering)
ปีที่ 1 น้องๆ จะได้เรียนการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ซึ่งเป็นพื้นฐานในการเรียนของสาขานี้ ถ้าน้องรู้สึกไม่ชอบหรือไม่ถนัดก็คงไม่เหมาะกันที่นี่ค่ะ ส่วนใหญ่ก็จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรม (ภาษา C, ภาษา C++ , ภาษา Python) คณิตศาสตร์ และพื้นฐานคำสั่งโปรแกรม ในปีที่ 2 จะเรียนภาษาการเขียนโปรแกรมเพิ่มไปอีกหนึ่งภาษา คือ ภาษา Java, คำสั่งโปรแกรมที่ลึกลงไปอีกขั้น, การเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆ , พื้นฐานการออกแบบโปรแกรม และความน่าจะเป็นในวิชาสถิติ เข้าสู่ปีที่ 3 นอกจากจะต้องเรียนเรื่องของการออกแบบโปรแกรม การคุยงานกับผู้ว่าจ้าง และการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าแล้ว น้องๆ จะต้องเลือกสายหรือวิชาเองออกไปอีก ว่าจะไปทางสายซอฟต์แวร์ทั่วไป หรือสายซอฟต์แวร์สำหรับระบบเคลื่อนที่ และในปีที่ 4 จะเป็นช่วงเวลาของการทำโปรเจค ซึ่งเป็นการนำเอาความรู้ทั้งหมดมาประยุกต์ ลงมือทำ และนำออกมาเสนอก่อนจบ อีกทั้งยังมีการเรียนเสริมในบางรายวิชาตามที่คณะสาขากำหนดไว้อีกด้วย
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ คนที่ประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติการ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ให้ไปในทางที่พัฒนาขึ้น แต่ถ้าหากวิศวกรฯ มีความรู้ ความสามารถ ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษที่ดีเยี่ยมเสริมเข้าไปด้วย จะยิ่งเพิ่มคุณค่าของน้องๆ วิศวกรที่จบจากที่นี่ให้เทียบเท่ากับวิศวกรต่างชาติได้ไม่ยาก เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- เป็นหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ที่สอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด
จบมาทำงานอะไร
วิศวกรซอฟต์แวร์, สถาปนิกออกแบบซอฟต์แวร์และนักพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ และเว็บ
นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ, อาจารย์, นักวิจัย, ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
ผู้ประกอบการธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ และเว็ป
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (ตุลาคม - ธันวาคม)
- สำเร็จการศึกษาระดับชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX)
- มีผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 3.00
- มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง
IELTS (Academic) 5.5 ขึ้นไป
TOEFL : CBT (computer-based test) 65 ขึ้นไป, PBT (paper-based test) 500 ขึ้นไป, IBT (internet-based test) 61 ขึ้นไป
TU-GET 500 ขึ้นไป
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
600, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
75, 000 บาท/เทอม
วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ศึกษาความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้ง กระบวนการตั้งแต่การวิเคราะห์ออกแบบไปจนถึงขั้นตอนของการทดสอบ
นอกจากนี้ยังศึกษาด้านวิศวกรรมความรู้ และมีวิชาเลือกด้านปัญญาประดิษฐ์และด้านวิศวกรรมความรู้ เช่น การทำเหมืองข้อมูล คลังข้อมูล และระบบช่วยตัดสินใจ เป็นต้น
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
วิทยาลัยนานาชาติ (International College)
ชื่อสาขา
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (นานาชาติ) (SOFTWARE ENGINEERING)
ชื่อปริญญา
วศ.บ. (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมซอฟต์แวร์))
รายละเอียด
ศึกษาความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้ง กระบวนการตั้งแต่การวิเคราะห์ออกแบบไปจนถึงขั้นตอนของการทดสอบ
นอกจากนี้ยังศึกษาด้านวิศวกรรมความรู้ และมีวิชาเลือกด้านปัญญาประดิษฐ์และด้านวิศวกรรมความรู้ เช่น การทำเหมืองข้อมูล คลังข้อมูล และระบบช่วยตัดสินใจ เป็นต้น
คุณสมบัติ
สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือเทียบโอนมาจากสถาบันการศึกษาแห่งอื่น
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต
เทียบเท่า (อาชีวะ)
ได้รับการรับรองจาก
สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
อาชีพ
• วิศวกรซอฟต์แวร์ สถาปนิกออกแบบซอฟต์แวร์และนักพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ และเว็บ
• นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ• อาจารย์ นักวิจัย หรือ ผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
• ประกอบธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ และเว็ป
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยจึงมีความต้องการบุคลากรที่ประกอบอาชีพวิศวกรซอฟต์แวร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากทุกหน่วยงานจะต้องนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาเพื่อพัฒนาองค์กรให้มีความทันสมัยจึงจะสามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็ได้ทำการส่งเสริม เช่น ในด้านการศึกษาซึ่งก่อให้เกิดหลักสูตรด้านซอฟต์แวร์เปิดทำการสอนในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย
และสถาบันต่างๆ ค่อนข้างมากและส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถดำเนินการด้านอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์นี้โดยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษี เป็นต้น
บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับสาขานี้
– ชอบคิดวิเคราะห์ หาข้อดีข้อเสีย เพื่อพัฒนาสิ่งใหม่
– ชอบความท้าทาย ชอบการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดนิ่ง
– ชอบคอมพิวเตอร์ ชอบเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 5.0 แย่
วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ดีไหม?
วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รีวิววิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
เทคโนโลยีและชีวิตประจำวันกลายเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันมากขึ้น ที่ไม่ใช่แค่มือถือ แท็บแล็ต เกมคอนโซลอีกต่อไป แต่ระบบซอฟต์แวร์ได้รับการพัฒนาให้ฝังอยู่กับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ รอบตัวเราอยู่เรื่อยๆ ทำให้ตลาดแรงงานด้านซอฟต์แวร์ทั้งในและต่างประเทศกำลังต้องการบุคลากรที่มีความสามารถ มีความชำนาญในศาสตร์นี้อย่างมาก
ที่สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาลัยนานาชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้เปิดการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์แยกย่อยออกไปอีก 2 แขนง คือ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) และ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ส าหรับระบบเคลื่อนที่ (Mobile Software Engineering)
ปีที่ 1 น้องๆ จะได้เรียนการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ซึ่งเป็นพื้นฐานในการเรียนของสาขานี้ ถ้าน้องรู้สึกไม่ชอบหรือไม่ถนัดก็คงไม่เหมาะกันที่นี่ค่ะ ส่วนใหญ่ก็จะเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรม (ภาษา C, ภาษา C++ , ภาษา Python) คณิตศาสตร์ และพื้นฐานคำสั่งโปรแกรม ในปีที่ 2 จะเรียนภาษาการเขียนโปรแกรมเพิ่มไปอีกหนึ่งภาษา คือ ภาษา Java, คำสั่งโปรแกรมที่ลึกลงไปอีกขั้น, การเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆ , พื้นฐานการออกแบบโปรแกรม และความน่าจะเป็นในวิชาสถิติ เข้าสู่ปีที่ 3 นอกจากจะต้องเรียนเรื่องของการออกแบบโปรแกรม การคุยงานกับผู้ว่าจ้าง และการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าแล้ว น้องๆ จะต้องเลือกสายหรือวิชาเองออกไปอีก ว่าจะไปทางสายซอฟต์แวร์ทั่วไป หรือสายซอฟต์แวร์สำหรับระบบเคลื่อนที่ และในปีที่ 4 จะเป็นช่วงเวลาของการทำโปรเจค ซึ่งเป็นการนำเอาความรู้ทั้งหมดมาประยุกต์ ลงมือทำ และนำออกมาเสนอก่อนจบ อีกทั้งยังมีการเรียนเสริมในบางรายวิชาตามที่คณะสาขากำหนดไว้อีกด้วย
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ คนที่ประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติการ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ให้ไปในทางที่พัฒนาขึ้น แต่ถ้าหากวิศวกรฯ มีความรู้ ความสามารถ ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษที่ดีเยี่ยมเสริมเข้าไปด้วย จะยิ่งเพิ่มคุณค่าของน้องๆ วิศวกรที่จบจากที่นี่ให้เทียบเท่ากับวิศวกรต่างชาติได้ไม่ยาก เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
จบมาทำงานอะไร
นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ, อาจารย์, นักวิจัย, ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
ผู้ประกอบการธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ และเว็ป
สมัครเรียนทำอย่างไร
- สำเร็จการศึกษาระดับชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX)
- มีผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 3.00
- มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษอย่างใดอย่างหนึ่ง
IELTS (Academic) 5.5 ขึ้นไป
TOEFL : CBT (computer-based test) 65 ขึ้นไป, PBT (paper-based test) 500 ขึ้นไป, IBT (internet-based test) 61 ขึ้นไป
TU-GET 500 ขึ้นไป
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
นอกจากนี้ยังศึกษาด้านวิศวกรรมความรู้ และมีวิชาเลือกด้านปัญญาประดิษฐ์และด้านวิศวกรรมความรู้ เช่น การทำเหมืองข้อมูล คลังข้อมูล และระบบช่วยตัดสินใจ เป็นต้น
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
นอกจากนี้ยังศึกษาด้านวิศวกรรมความรู้ และมีวิชาเลือกด้านปัญญาประดิษฐ์และด้านวิศวกรรมความรู้ เช่น การทำเหมืองข้อมูล คลังข้อมูล และระบบช่วยตัดสินใจ เป็นต้น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
• นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ• อาจารย์ นักวิจัย หรือ ผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
• ประกอบธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ และเว็ป
และสถาบันต่างๆ ค่อนข้างมากและส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถดำเนินการด้านอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์นี้โดยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษี เป็นต้น
– ชอบความท้าทาย ชอบการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดนิ่ง
– ชอบคอมพิวเตอร์ ชอบเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 5.0 แย่
วิทยาลัยนานาชาติ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ