วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
รีวิววิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ หมายถึง การดูแลควบคุมระบบการขนส่ง, การจัดเก็บ, การเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเพื่อนำไปแก้ไขปัญหาของภาคอุตสาหกรรมารผลิต ขนส่ง นำเข้า-ส่งออก เพื่อให้น้องๆ มีความรู้ แนวคิด และหลักการด้านวิศวกรรมกับโลจิสติกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการจัดการ การเพิ่มผลกำไร ลดต้นทุนในการผลิต รวมไปถึงการใช้ทรัพยากรการขนส่งได้อย่างคุ้มค่าที่สุด
ที่สาชาวิชาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ยังได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้การวางแผนสนับสนุน (Support) เช่น การจัดหาสินค้าและบริการ การจัดการคลังสินค้า การบริหารต้นทุน/กำไร และการขนส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้าในระยะเวลาอันสั้นและปลอดภัย
เมื่อน้องๆ เข้ามาเรียนที่นี่ ปีที่ 1 จะเป็นการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี คณิตศาสตร์ แคลคูลัส เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ และการเขียนแบบกับความรู้ด้านวัสดุทางวิศวกรรม ขึ้นมาปีที่ 2 จะเข้าสู่การบริหารจัดการระบบการขนส่ง โลจิสติกส์ และโซ่อุปทาน รวมไปถึงรายวิชาสถิติและวิชาการคิดเพื่อพัฒนา ปีที่ 3 เป็นเรื่องของการวิจัยและการวิเคราะห์กระบวนการขนส่งสินค้าทั้ง การจราจร อุปสรรค์ในการเดินทาง การวางแผนเส้นทาง เศรษฐศาสตร์การขนส่ง สิ่งแวดล้อม และเรื่องของคลังสินค้า สินค้าคงคลัง เทคโนโลยีชั้นสูงในการขนส่งและโลจิสติกส์ ทั้งหมดนี่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับน้องๆ ในปีที่ 4 ในรายวิชาโครงงานด้านวิศวกรรมขนส่งและโลจิวสติกส์, วิชาการจำลองปัญหาด้านโลจิสติกส์ และนำไปใช้ในการออกไปฝึกงานสหกิจศึกษาของน้องๆ ก่อนจบอีกด้วย
จบมาทำงานอะไร
ที่ปรึกษาการดําเนินงานระบบขนส่งมวลชน อาทิ รถไฟฟ้ามหานคร, ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ , บริษัทการบินไทย ฯลฯ
วิศวกรและที่ปรึกษาในบริษัทเอกชนต่างๆ เช่น บริษัทขนส่งและกระจายสินค้า, บริษัทขนส่งทางทะเล ฯลฯ รวมถึงเป็น ผู้ประกอบการด้านการขนส่งสินค้า
วิศวกรประจำหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ อาทิ กรมทางหลวง, การไฟฟ้า, เทศบาล, องค์การโทรศัพท์, กรมชลประทาน, กรมโยธาธิการ ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (สิงหาคม - ตุลาคม)
- กำลังศึกษาในระดับชั้น ม. 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 4 เทอม ที่อยู่ในตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ตั้งแต่ 60 ขึ้นไปของโรงเรียน
- สมัครได้ทางเว็ปไซต์ www.sut.ac.th/ces
มีโควตาดังนี้
- โควตาโรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัด (นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์ และสุรินทร์)
- โควตาทั่วประเทศ (ยกเว้น 4 จังหวัดข้างต้น)
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 15%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 15%
- PAT3 (วิศวกรรมศาสตร์) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
160, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
20, 000 บาท/เทอม
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
รีวิววิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ หมายถึง การดูแลควบคุมระบบการขนส่ง, การจัดเก็บ, การเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเพื่อนำไปแก้ไขปัญหาของภาคอุตสาหกรรมารผลิต ขนส่ง นำเข้า-ส่งออก เพื่อให้น้องๆ มีความรู้ แนวคิด และหลักการด้านวิศวกรรมกับโลจิสติกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการจัดการ การเพิ่มผลกำไร ลดต้นทุนในการผลิต รวมไปถึงการใช้ทรัพยากรการขนส่งได้อย่างคุ้มค่าที่สุด
ที่สาชาวิชาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ยังได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้การวางแผนสนับสนุน (Support) เช่น การจัดหาสินค้าและบริการ การจัดการคลังสินค้า การบริหารต้นทุน/กำไร และการขนส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้าในระยะเวลาอันสั้นและปลอดภัย
เมื่อน้องๆ เข้ามาเรียนที่นี่ ปีที่ 1 จะเป็นการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี คณิตศาสตร์ แคลคูลัส เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ และการเขียนแบบกับความรู้ด้านวัสดุทางวิศวกรรม ขึ้นมาปีที่ 2 จะเข้าสู่การบริหารจัดการระบบการขนส่ง โลจิสติกส์ และโซ่อุปทาน รวมไปถึงรายวิชาสถิติและวิชาการคิดเพื่อพัฒนา ปีที่ 3 เป็นเรื่องของการวิจัยและการวิเคราะห์กระบวนการขนส่งสินค้าทั้ง การจราจร อุปสรรค์ในการเดินทาง การวางแผนเส้นทาง เศรษฐศาสตร์การขนส่ง สิ่งแวดล้อม และเรื่องของคลังสินค้า สินค้าคงคลัง เทคโนโลยีชั้นสูงในการขนส่งและโลจิสติกส์ ทั้งหมดนี่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับน้องๆ ในปีที่ 4 ในรายวิชาโครงงานด้านวิศวกรรมขนส่งและโลจิวสติกส์, วิชาการจำลองปัญหาด้านโลจิสติกส์ และนำไปใช้ในการออกไปฝึกงานสหกิจศึกษาของน้องๆ ก่อนจบอีกด้วย
จบมาทำงานอะไร
วิศวกรและที่ปรึกษาในบริษัทเอกชนต่างๆ เช่น บริษัทขนส่งและกระจายสินค้า, บริษัทขนส่งทางทะเล ฯลฯ รวมถึงเป็น ผู้ประกอบการด้านการขนส่งสินค้า
วิศวกรประจำหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ อาทิ กรมทางหลวง, การไฟฟ้า, เทศบาล, องค์การโทรศัพท์, กรมชลประทาน, กรมโยธาธิการ ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
- กำลังศึกษาในระดับชั้น ม. 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 4 เทอม ที่อยู่ในตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ตั้งแต่ 60 ขึ้นไปของโรงเรียน
- สมัครได้ทางเว็ปไซต์ www.sut.ac.th/ces
มีโควตาดังนี้
- โควตาโรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัด (นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์ และสุรินทร์)
- โควตาทั่วประเทศ (ยกเว้น 4 จังหวัดข้างต้น)
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 15%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 15%
- PAT3 (วิศวกรรมศาสตร์) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
หลักสูตรวิิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ ม.เทคโนโลยีสุรนารี เป็นหลักสูตร 4 ปี กำหนดจำนวนรวมของหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 188 หน่วยกิต โดยจัดการเรียนการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
1.หมวดวิชาพื้นฐานการศึกษาทั่วไปและวิทยาศาสตร์ เป็นความจําเป็นต้องมีการพัฒนา วิศวกรที่มีศักยภาพและความสามารถเฉพาะทางของวิชาการด้านนี้ระดับหนึ่ง ในวิชาการ เหล่านี้จะมีการสอดแทรกวิชาการด้านวิศวกรรมศาสตร์เข้ามาด้วย
2. วิชาชีพด้านวิศวกรรมขนส่ง ในหลักสูตรจะมีวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมขนส่งและ การจราจร ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู่ความเข้าใจในหลัก ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการ วางแผน การดําเนินงาน และการควบคุมการปฏิบัติงาน ในด้านการขนส่ง และงานด้าน การจราจร เพื่อความสมบูรณ์ในการเป็นผู้รู้ และในการประกอบอาชีพวิศวกรรมขนส่ง
3. วิชาวิศวกรรมการทางซึ่งวิศวกรขนส่งจําเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน เข้าใจหลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบทางกายภาพของถนนและระบบจราจร ตลอดจนเข้าใจหลักการ คมนาคมขนส่งในรูปแบบอื่นๆ เช่น สนามบิน ระบบขนส่งมวลชน ท่าเรือ ทางรถไฟ และทางท่อ เป็นต้น และศึกษาถึงการวางแผนระบบ การคาดคะเนพฤติกรรมของวิชาการ การขนส่งรูปแบบต่างๆ ให้มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมทาง เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการวิเคราะห์ คัดเลือกวัสดุที่ใช้ในด้านวิศวกรรมการ ก่อสร้างในงานถนน เช่น หิน ยาง แอสฟัลท์ เหล็ก และคอนกรีต เป็นต้น
4. วิชาทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ ที่จะศึกษาเกี่ยวกับการวางแผน การควบคุมบริหาร การขนส่ง เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์ ตอบสนองต่อความ ต้องการด้านอุตสาหกรรม การให้บริการโลจิสติกส์ในระดับประเทศ หรือระดับสากลต่อไป
เมื่อสำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพ รับราชการ หรือ รัฐวิสาหกิจ หน่วยราชการเกือบทุกแห่งที่มีงานด้านขนส่งและโลจิสติกส์ นอกจากนี้ยังสามารถประกอบอาชีพเป็นครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้ด้วย, หน่วยงานด้านการขนส่ง ในบริษัทหรือองค์กรที่ทํางานเป็นที่ปรึกษาหรือวางแผน การ จัดการการดําเนินงานระบบขนส่งมวลชน การแก้ไขปัญหาการจราจร การคมนาคมขนส่ง เช่น องค์การรถไฟฟ้ามหานคร ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ บริษัทการบินไทย บริษัทวิศวกรที่ ปรึกษาทําหน้าที่ศึกษาความเป็นไปได้ และแก้ปัญหาด้านจราจรขนส่งเป็นหน่วยงานที่ใช้ วิศวกรขนส่งจํานวนมาก และมีความเป็นไปได้ที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตทั้งในกรุงเทพฯ และ เมืองหลักของประเทศ รวมทั้งในบริษัทการค้าที่จะต้องมีการจัดการด้านการขนส่งกระจาย สินค้าต่าง ๆ บริษัทขนส่งทางทะเล เป็นต้น ภาคธุรกิจการขนส่ง เป็นวิศวกรขนส่ง ดูแลงานด้านการวิเคราะห์ วางแผนโลจิสติกส์ จัดการการขนส่ง วางแผนควบคุมสินค้าคงคลัง ให้กับบริษัทขนส่ง หรือศูนย์การะจายสินค้า หรือเป็นผู้ประกอบการด้านการขนส่งสินค้า, งานส่วนตัว วิศวกรที่สําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง สามารถประกอบอาชีพ ส่วนตัวได้หลาย ๆ รูปแบบ ทั้งเป็นเจ้าของงาน วิศวกรที่ปรึกษา และเนื่องจากรูปแบบ อาชีพเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เป็นปัจจัยหลักของชีวิต ดังนั้น แนวทางอาชีพอิสระจึง มีหลากหลายมาก
วิเคราะห์ข้อมูล U-Review Score
โดย AdmissionPremium.com
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
หลักสูตรวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์เป็นหลักสูตรสหวิทยาการ ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทางด้านวิศวกรรมหลายแขนง อาทิเช่น
1. หมวดวิชาพื้นฐานการศึกษาทั่วไปและวิทยาศาสตร์ เป็นความจําเป็นต้องมีการพัฒนา วิศวกรที่มีศักยภาพและความสามารถเฉพาะทางของวิชาการด้านนี้ระดับหนึ่ง ในวิชาการ เหล่านี้จะมีการสอดแทรกวิชาการด้านวิศวกรรมศาสตร์เข้ามาด้วย
2. วิชาชีพด้านวิศวกรรมขนส่ง ในหลักสูตรจะมีวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมขนส่งและ การจราจร ที่มุ้งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลัก ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการ วางแผน การดําเนินงาน และการควบคุมการปฏิบัติงาน ในด้านการขนส่ง และงานด้าน การจราจร เพื่อความสมบูรณ์ในการเป็นผู้รู้ และในการประกอบอาชีพวิศวกรรมขนส่ง
3. วิชาวิศวกรรมการทางซึ่งวิศวกรขนส่งจําเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน เข้าใจหลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบทางกายภาพของถนนและระบบจราจร ตลอดจนเข้าใจหลักการ คมนาคมขนส่งในรูปแบบอื่นๆ เช่น สนามบิน ระบบขนส่งมวลชน ท่าเรือ ทางรถไฟ และทางท่อ เป็นต้น และศึกษาถึงการวางแผนระบบ การคาดคะเนพฤติกรรมของวิชาการ การขนส่งรูปแบบต่างๆ ให้มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมทาง เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการวิเคราะห์ คัดเลือกวัสดุที่ใช้ในด้านวิศวกรรมการ ก่อสร้างในงานถนน เช่น หิน ยาง แอสฟัลท์ เหล็ก และคอนกรีต เป็นต้น
4. วิชาทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ ที่จะศึกษาเกี่ยวกับการวางแผน การควบคุมบริหาร การขนส่ง เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์ ตอบสนองต่อความต้องการด้านอุตสาหกรรม การให้บริการโลจิสติกส์ในระดับประเทศ หรือระดับสากลต่อไป
1. รับราชการ หรือ รัฐวิสาหกิจ หน่วยราชการเกือบทุกแห่งที่มีงานด้านขนส่งและโลจิสติกส์ เช่น กรมทางหลวง การไฟฟ้า วิศวกรจราจรประจําเทศบาล องค์การโทรศัพท์ กรม ชลประทาน และกรมโยธาธิการ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถประกอบอาชีพเป็นครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้ด้วย
2. หน่วยงานด้านการขนส่ง ในบริษัทหรือองค์กรที่ทํางานเป็นที่ปรึกษาหรือวางแผน การ จัดการการดําเนินงานระบบขนส่งมวลชน การแก้ไขปัญหาการจราจร การคมนาคมขนส่ง เช่น องค์การรถไฟฟ้ามหานคร ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ บริษัทการบินไทย บริษัทวิศวกรที่ ปรึกษาทําหน้าที่ศึกษาความเป็นไปได้ และแก้ปัญหาด้านจราจรขนส่งเป็นหน่วยงานที่ใช้ วิศวกรขนส่งจํานวนมาก และมีความเป็นไปได้ที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตทั้งในกรุงเทพฯ และ เมืองหลักของประเทศ รวมทั้งในบริษัทการค้าที่จะต้องมีการจัดการด้านการขนส่งกระจาย สินค้าต่าง ๆ บริษัทขนส่งทางทะเล เป็นต้น
3. ภาคธุรกิจการขนส่ง เป็นวิศวกรขนส่ง ดูแลงานด้านการวิเคราะห์ วางแผนโลจิสติกส์ จัดการการขนส่ง วางแผนควบคุมสินค้าคงคลัง ให้กับบริษัทขนส่ง หรือศูนย์การะจายสินค้า หรือเป็นผู้ประกอบการด้านการขนส่งสินค้า
4. งานส่วนตัว วิศวกรที่สําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง สามารถประกอบอาชีพ ส่วนตัวได้หลาย ๆ รูปแบบ ทั้งเป็นเจ้าของงาน วิศวกรที่ปรึกษา และเนื่องจากรูปแบบ อาชีพเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เป็นปัจจัยหลักของชีวิต ดังนั้น แนวทางอาชีพอิสระจึง มีหลากหลายมาก
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการสํารวจ วิเคราะห์ วางแผน ออกแบบ และจัดการเกี่ยวกับงานด้านวิศวกรรมจราจร การจัดการคมนาคมขนส่งคนและสินค้า ให้มีความสะดวก ปลอดภัย และประสิทธิภาพ โดยผู้สําเร็จการศึกษาในหลักสูตรนี้จะสามารถใช้องค์ความรู้ในการประกอบ อาชีพได้หลากหลาย อาทิ เป็นวิศวกรขนส่ง นักวางแผนด้านการจราจร ในองค์กรของรัฐ เช่น กรมทาง หลวง การทางพิเศษแห่งประเทศไทย องค์การรถไฟฟ้ามหานคร และหน่วยงานบริหารส่วนท้องถิ่น หรือ เป็นนักวิเคราะห์ด้านการขนส่งให้กับบริษัทเอกชน ที่มีการจัดการการขนส่ง หรือกระจายสินค้า ทั้งทาง บก ทางอากาศ และทางทะเล เป็นต้น
จําเป็นต้องมีความรู้ในทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร?และพื้นฐานวิชาการที่ช่วยในการถ่ายทอดเทคโนโลยี
อันได้แก่ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างดี มีความสามารถที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองใน
สาขาประยุกต์เฉพาะทางด้านต่างๆ เพราะวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์เป็นสหวิทยาการที่ต้องมีความรอบรู้
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องหลายสาขาวิชาประกอบกันจึงจะสามารถเข้าใจและแก้ปัญหาได้ดี
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ