รีวิวการบัญชี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จัดตั้งขึ้นเพื่อสนองความต้องการของวิชาชีพ โดยมุ่งเน้นให้มีโครงสร้าง ลักษณะวิชาและเนื้อหาวิชาทันสมัยที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานบัญชี กฎหมายทางวิชาชีพ การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก รวมทั้งมุ่งเน้นการสร้างความตระหนักในความรับผิดชอบของวิชาชีพต่อสังคม การมีจิตสำนึกเพื่อส่วนรวมและจริยธรรมในวิชาชีพ
ที่นี่เปิดสอนวิชาชีพบัญชีใน 4 กลุ่มวิชา ตามสายอาชีพที่มีความจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน คือ
1. กลุ่มวิชาเน้นการประยุกต์ IT กับงานบัญชี เช่น วิชาการออกแบบและการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่องานบัญชีสมัยใหม่, การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี (ERP), ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเชิงบูรณาการ
2. กลุ่มวิชาการจัดการด้านภาษีอากร เช่น วิชาการวางแผนภาษีเชิงกลยุทธ์, ประเด็นปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับภาษีอากร, ประเด็นด้านภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
3. กลุ่มวิชาการควบคุมภายในและการกำกับการดูแลกิจการ ที่เน้นการควบคุมและการตรวจสอบ เช่น วิชาการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่นขั้นสูง, นิติบัญชีศาสตร์
4. กลุ่มวิชาที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้บริหารสายงานบัญชีและสายงานอื่นๆ เช่น วิชาการบัญชีบริหารเชิงกลยุทธ์, การวางแผนภาษีเชิงกลยุทธ์, รายงานการเงินและการวิเคราะห์งบหารเงินขั้นสูง, การจัดการการเงินเชิงกลยุทธ์, การบริหารการปฏิบัติการขั้นสูง
น้องๆ ที่จะเรียนบัญชี โปรแกรมที่ต้องสนใจเป็นพิเศษ คือ Excel เป็นโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับบัญชีมากที่สุด เพราะมันมีการใช้สูตรคำนวณต่างๆ ในส่วนกระบวนการเรียนที่ต้องเจอในสาขาวิชาการบัญชี โดยปี1 จะได้เจอวิชา General Education พื้นฐานทั่วไป ทางด้าน เศรษฐศาสตร์ บัญชีขั้นต้น ภาษีอากร ขึ้นปี2 วิชาบัญชีจะค่อนข้างซับซ้อนขึ้นมาบ้าง ในส่วนปี2 นั้นน้องๆ จะได้รู้แล้วว่าถ้าจบมาเราจะต้องทำงานอย่างไร ขึ้นปี3 จะเป็นรายวิชาที่ประยุกต์จากงานบัญชี เช่น การใช้ซอฟแวร์ วิชาที่มีพวกไอทีมาเกี่ยวข้อง และจนขึ้นปี4 จะเน้นการฝึกงานแบบสหกิจศึกษา มีทั้ง 1 ปี และ 1 ภาคการศึกษา นอกเหนือจากการใช้ซอฟแวร์แล้ว ทางคณะยังให้ความสำคัญในการตรวจสอบการใช้ไอทีเช่นกัน ในคณะจะสอนให้เด็กตรวจสอบบัญชีด้วยคอมฯ หลังจากเก็บบัญชีในระบบคอมฯ เราก็จะต้องมาตรวจสอบอีกว่าข้อมูลที่เก็บมานั้นถูกต้องหรือไม่ โดยใช้ซอฟแวร์อีกตัวหนึ่งชื่อว่า ACL ซึ่งคล้ายๆ กับ Excel แต่ซับซ้อนกว่า มันจะเข้ามาช่วยตรวจสอบ ซึ่งโปรแกรมเป็นตัวเดี่ยวกันกับที่บริษัทชั้นนำระดับโลกนำมาใช้ และที่ประเทศไทยถือว่ามีน้อยสถาบันมากที่สามารถนำมาสอนในหลักสูตรได้ เพราะความซับซ้อนของมัน ดังนั้นผู้สอนจะต้องมีความชำนาญพอสมควร
ในปัจจุบันการบัญชีมีส่วนสำคัญต่อระบบธุรกิจเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าบริษัทนั้นจะล้มละลาย หรือยุบตัวลง แผนกบัญชีจะเป็นแผนกสุดท้ายที่ทางบริษัทจะเลิกจ้าง เนื่องจากแผนกบัญชียังมีหน้าที่ในการคำนวณภาษีเสียให้กับสรรพากร หรือมีหน้าที่ในการคำนวณการจัดสรรกำไรให้กับหุ้นส่วนของบริษัทอีกด้วย ถึงแม้จะถูกมองว่าเป็นอาชีพที่ไม่ตกงานเลย มีตลาดแรงงานรองรับ หางานง่าย แต่อยู่ที่เราด้วยว่าเราเป็นพวกเลือกงานไหม คนจบบัญชีออกมามีเยอะก็จริง แต่จบออกมาก็ไม่ได้ทำบัญชีทุกคน แล้วจบบัญชีก็สามารถทำตำแหน่งอื่นได้อีกด้วย
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มบริษัท Big4 (Deloitte, Ernst & Young, KPMG, PwC) บริษัทตรวจสอบบัญชีและให้คำปรึกษาทางธุรกิจระดับโลก ในการรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน
- มีห้องปฏิบัติการทางบัญชีเป็นของตัวเองและมีอุปกรณ์การเรียนที่ทันสมัย
จบมาทำงานอะไร
ด้านการทำบัญชี, ด้านการสอบบัญชี, ด้านการบัญชีบริหาร, ด้านการภาษีอากร, ด้านการวางระบบบัญชี, ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีทางการบัญชี, ด้านการตรวจสอบภายใน, ด้านการให้คำปรึกษาทางการเงินและบัญชี, ด้านระบบสารสนเทศทางการบัญชี ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (ตุลาคม-กรกฎาคม)
- สำเร็จการศึกษาชั้นม.6 หรือ เทียบเท่า
- สมัครด้วยตนเองที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต หรือ สมัครผ่านเว็ปไซต์ www.dpu.ac.th/admission
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 20%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 30 %
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
158,500 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
36, 000 -63, 000 บาท/เทอม
การบัญชี สาขาการบัญชี
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
รีวิวการบัญชี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จัดตั้งขึ้นเพื่อสนองความต้องการของวิชาชีพ โดยมุ่งเน้นให้มีโครงสร้าง ลักษณะวิชาและเนื้อหาวิชาทันสมัยที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานบัญชี กฎหมายทางวิชาชีพ การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก รวมทั้งมุ่งเน้นการสร้างความตระหนักในความรับผิดชอบของวิชาชีพต่อสังคม การมีจิตสำนึกเพื่อส่วนรวมและจริยธรรมในวิชาชีพ
ที่นี่เปิดสอนวิชาชีพบัญชีใน 4 กลุ่มวิชา ตามสายอาชีพที่มีความจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน คือ
1. กลุ่มวิชาเน้นการประยุกต์ IT กับงานบัญชี เช่น วิชาการออกแบบและการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่องานบัญชีสมัยใหม่, การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี (ERP), ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเชิงบูรณาการ
2. กลุ่มวิชาการจัดการด้านภาษีอากร เช่น วิชาการวางแผนภาษีเชิงกลยุทธ์, ประเด็นปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับภาษีอากร, ประเด็นด้านภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
3. กลุ่มวิชาการควบคุมภายในและการกำกับการดูแลกิจการ ที่เน้นการควบคุมและการตรวจสอบ เช่น วิชาการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่นขั้นสูง, นิติบัญชีศาสตร์
4. กลุ่มวิชาที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้บริหารสายงานบัญชีและสายงานอื่นๆ เช่น วิชาการบัญชีบริหารเชิงกลยุทธ์, การวางแผนภาษีเชิงกลยุทธ์, รายงานการเงินและการวิเคราะห์งบหารเงินขั้นสูง, การจัดการการเงินเชิงกลยุทธ์, การบริหารการปฏิบัติการขั้นสูง
น้องๆ ที่จะเรียนบัญชี โปรแกรมที่ต้องสนใจเป็นพิเศษ คือ Excel เป็นโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับบัญชีมากที่สุด เพราะมันมีการใช้สูตรคำนวณต่างๆ ในส่วนกระบวนการเรียนที่ต้องเจอในสาขาวิชาการบัญชี โดยปี1 จะได้เจอวิชา General Education พื้นฐานทั่วไป ทางด้าน เศรษฐศาสตร์ บัญชีขั้นต้น ภาษีอากร ขึ้นปี2 วิชาบัญชีจะค่อนข้างซับซ้อนขึ้นมาบ้าง ในส่วนปี2 นั้นน้องๆ จะได้รู้แล้วว่าถ้าจบมาเราจะต้องทำงานอย่างไร ขึ้นปี3 จะเป็นรายวิชาที่ประยุกต์จากงานบัญชี เช่น การใช้ซอฟแวร์ วิชาที่มีพวกไอทีมาเกี่ยวข้อง และจนขึ้นปี4 จะเน้นการฝึกงานแบบสหกิจศึกษา มีทั้ง 1 ปี และ 1 ภาคการศึกษา นอกเหนือจากการใช้ซอฟแวร์แล้ว ทางคณะยังให้ความสำคัญในการตรวจสอบการใช้ไอทีเช่นกัน ในคณะจะสอนให้เด็กตรวจสอบบัญชีด้วยคอมฯ หลังจากเก็บบัญชีในระบบคอมฯ เราก็จะต้องมาตรวจสอบอีกว่าข้อมูลที่เก็บมานั้นถูกต้องหรือไม่ โดยใช้ซอฟแวร์อีกตัวหนึ่งชื่อว่า ACL ซึ่งคล้ายๆ กับ Excel แต่ซับซ้อนกว่า มันจะเข้ามาช่วยตรวจสอบ ซึ่งโปรแกรมเป็นตัวเดี่ยวกันกับที่บริษัทชั้นนำระดับโลกนำมาใช้ และที่ประเทศไทยถือว่ามีน้อยสถาบันมากที่สามารถนำมาสอนในหลักสูตรได้ เพราะความซับซ้อนของมัน ดังนั้นผู้สอนจะต้องมีความชำนาญพอสมควร
ในปัจจุบันการบัญชีมีส่วนสำคัญต่อระบบธุรกิจเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าบริษัทนั้นจะล้มละลาย หรือยุบตัวลง แผนกบัญชีจะเป็นแผนกสุดท้ายที่ทางบริษัทจะเลิกจ้าง เนื่องจากแผนกบัญชียังมีหน้าที่ในการคำนวณภาษีเสียให้กับสรรพากร หรือมีหน้าที่ในการคำนวณการจัดสรรกำไรให้กับหุ้นส่วนของบริษัทอีกด้วย ถึงแม้จะถูกมองว่าเป็นอาชีพที่ไม่ตกงานเลย มีตลาดแรงงานรองรับ หางานง่าย แต่อยู่ที่เราด้วยว่าเราเป็นพวกเลือกงานไหม คนจบบัญชีออกมามีเยอะก็จริง แต่จบออกมาก็ไม่ได้ทำบัญชีทุกคน แล้วจบบัญชีก็สามารถทำตำแหน่งอื่นได้อีกด้วย
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มีห้องปฏิบัติการทางบัญชีเป็นของตัวเองและมีอุปกรณ์การเรียนที่ทันสมัย
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- สำเร็จการศึกษาชั้นม.6 หรือ เทียบเท่า
- สมัครด้วยตนเองที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต หรือ สมัครผ่านเว็ปไซต์ www.dpu.ac.th/admission
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 20%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 30 %
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
การบัญชี สาขาการบัญชี
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
ผู้ที่สำเร็จการศึกษา สามารถประกอบวิชาชีพบัญชี ได้ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และ พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 และวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งในลักษณะของการประกอบวิชาชีพอิสระ และการทำงานในองค์การหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดังต่อไปนี้
1. ด้านการทำบัญชี 2. ด้านการสอบบัญชี 3. ด้านการบัญชีบริหาร 4. ด้านการภาษีอากร 3. ด้านการวางระบบบัญชี 4. ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีทางการบัญชี 5. ด้านการตรวจสอบภายใน 6. ด้านการให้คำปรึกษาทางการเงินและบัญชี 7. ด้านระบบสารสนเทศทางการบัญชี 8. ด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อสร้างบัณฑิตทางการบัญชีที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
1. มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพบัญชี ในระดับสากล และตรงความต้องการของธุรกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
2. มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึ่งประสงค์
3. มีความพร้อมทำงานได้ทันทีเมื่อสำเร็จการศึกษา
รายละเอียดเนื้อหาวิชา
ต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้
- สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ หรือการศึกษาอื่นที่เทียบเท่า
- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ หรือการศึกษาอื่นที่เทียบเท่า โดยสามารถเทียบโอนหน่วยกิตจากสถานศึกษาที่ได้เคยศึกษามาแล้ว (ผู้ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวอาจสำเร็จการศึกษาได้ภายใน 2 ปี)
หลักสูตรนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) ต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าขั้นปริญญาตรี สาขาใดสาขาหนึ่งจากสถาบันการศึกษาในประกาศ หรือต่างประเทศ ที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา หรือ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง (สำหรับหลักสูตรนี้ใช้เวลาในการศึกษา ประมาณ 2 ปีครึ่ง)
คุณสมบัติทั่วไป
1. ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือมีสติฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
2. ไม่เป็นโรคเรื้อน วัณโรค ติดยาเสพติดที่ให้โทษอย่างร้ายแรงโรคพิษสุราเรื้อรัง หรือโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
3. ไม่เคยต้องโทษจำคุก เว้นแต่ความผิดอันได้กระทำโดยประมาท หรือ ความผิดอันเป็นลหุโทษ
4. ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใดมาก่อนเนื่องจากถูกลงโทษทางวินัย
5. มีผู้ปกครองและมีภูมิลำเนาที่พักอยู่เป็นหลักแหล่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยสามารถติดต่อได้
สภาวิชาชีพ.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์
2. นางสาวอารยา เสรีพาณิชย์การ ได้รับทุนการศึกษาในโครงการ “กองทุนเต็ม-ยรรยง วรากรวรวุฒิ” ของสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ดูผลงานและรางวัลที่ได้รับเพิ่มเติม
1. ด้านการทำบัญชี
2. ด้านการสอบบัญชี
3. ด้านการบัญชีบริหาร
4. ด้านการภาษีอากร
3. ด้านการวางระบบบัญชี
4. ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีทางการบัญชี
5. ด้านการตรวจสอบภายใน
6. ด้านการให้คำปรึกษาทางการเงินและบัญชี
7. ด้านระบบสารสนเทศทางการบัญชี
8. ด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ปริญญาโท สาขาการบัญชี ทั้งใน และต่างประเทศ
2. ปริญญาโทในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น บริหารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
3. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทางการบัญชี การสอบ บัญชี การภาษีอากร และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น การตลาด การเงิน การประกันภัย เป็นต้น
2. ช่างสังเกต แม้ในเรื่องเล็กน้อย
3. ถนัดวิชาทางด้านคณิตศาสตร์
4. รักความก้าวหน้า ชอบการติดต่อสื่อสาร
5. สนใจเทคโนโลยี และก้าวทันเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ
3 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 8.6 ดีมาก
การบัญชี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม?
ปรับหลักสูตรใก้ตามทันไทยเเลนด์4.0 จบแล้วมีงานทำ
กมลรัตน์
โปรแกรม ACL จะสามารถช่วยให้การเรียนหรือการทำงานของศาสตร์บัญชี ดีขึ้นได้อย่างไรคับ
เกียรติศักดิ์ สุรินทรเดช
มีการนำไอทีมาประยุกต์ใช้ในการเรียน ในการตรวจสอบบัญชี
จิรพัชร โชติภณ
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ