วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
รีวิววิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
สาขาวิชาธุรกิจการบิน
ผลิตบัณฑิตที่มีจิตบริการ มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและการจัดการธุรกิจการบิน มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการและการปฏิบัติงานบริการบนเครื่องบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการในการจัดการเทคโนโลยีการบิน เพื่อให้การอำนวยการบินในด้านต่างๆของอุตสาหกรรมการบินดำเนินไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับการปฏิบัติการและอำนวยการบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer/Flight Dispatcher) ของสายการบิน เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน เจ้าหน้าที่บริการภาคพื้น และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบินอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กรมท่าอากาศยาน เป็นต้น รวมถึง สามารถไปศึกษาต่อเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ และนักบินพาณิชย์ได้อีกด้วย
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มุ่งเน้นความรู้ความสามารถทางวิชาชีพหรือด้านปฏิบัติการ (Operation)
- มี Mock up ที่ใช้ในการศึกษาภาคปฏิบัติของนักศึกษาเป็นเครื่องบินแบบ A300-600
- มีหลักสูตร 2 ภาษา (สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน)
- เป็นหลักสูตรแรกในระดับปริญญาตรีของประเทศไทย ที่มุ่งผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านอำนวยการบิน (Flight Operation Management) (สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน)
- เมื่อสำเร็จการศึกษาจะมีองค์ความรู้เพื่อสอบใบอนุญาตผู้ประจำหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานอำนวยการบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีอุปกรณ์การฝึก รวมทั้งห้องปฏิบัติการที่ครบสมบูรณ์เสมือนจริง
- อาจารย์ผู้สอนมีประสบการณ์ด้านการบินโดยตรง
จบมาทำงานอะไร
- อุตสาหกรรมการบิน
- งานฝ่ายบริการผู้โดยสาร
- งานในสายการบิน
- งานด้านอำนวยการบินต่างๆ
- จราจรทางอากาศ
- นักบิน
- พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
- rเจ้าหน้าที่อำนวยการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
● รายละเอียดการเรียน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและแนวทางการประกอบอาชีพ
สาขาวิชาธุรกิจการบิน
ผลิตบัณฑิตที่มีจิตบริการ มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและการจัดการธุรกิจการบิน มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการและการปฏิบัติงานบริการบนเครื่องบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการในการจัดการเทคโนโลยีการบิน เพื่อให้การอำนวยการบินในด้านต่างๆของอุตสาหกรรมการบินดำเนินไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับการปฏิบัติการและอำนวยการบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer/Flight Dispatcher) ของสายการบิน เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน เจ้าหน้าที่บริการภาคพื้น และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบินอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กรมท่าอากาศยาน เป็นต้น รวมถึง สามารถไปศึกษาต่อเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ และนักบินพาณิชย์ได้อีกด้วย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน
ชื่อสาขา
วิชาธุรกิจการบิน สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
รายละเอียด
● รายละเอียดการเรียน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและแนวทางการประกอบอาชีพ
สาขาวิชาธุรกิจการบิน
ผลิตบัณฑิตที่มีจิตบริการ มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและการจัดการธุรกิจการบิน มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการและการปฏิบัติงานบริการบนเครื่องบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการในการจัดการเทคโนโลยีการบิน เพื่อให้การอำนวยการบินในด้านต่างๆของอุตสาหกรรมการบินดำเนินไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับการปฏิบัติการและอำนวยการบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer/Flight Dispatcher) ของสายการบิน เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน เจ้าหน้าที่บริการภาคพื้น และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบินอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กรมท่าอากาศยาน เป็นต้น รวมถึง สามารถไปศึกษาต่อเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ และนักบินพาณิชย์ได้อีกด้วย
คุณสมบัติ
● คุณสมบัติ
- สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ หรือการศึกษาอื่นที่เทียบเท่า
- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.)จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ หรือการศึกษาอื่นที่เทียบเท่า โดยสามารถเทียบโอนหน่วยกิตจากสถานศึกษาที่ได้เคยศึกษามาแล้ว (ผู้ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวอาจสำเร็จการศึกษาได้ภายใน 2 ปี)
- ไม่กำหนดน้ำหนัก และส่วนสูง
สิ่งใหม่ จุดเด่น จุดแตกต่าง
จุดเด่น/ความน่าสนใจของสาขานี้
- มุ่งเน้นความรู้ความสามารถทางวิชาชีพหรือด้านปฏิบัติการ (Operation)
- มี Mock up ที่ใช้ในการศึกษาภาคปฏิบัติของนักศึกษาเป็นเครื่องบินแบบ A300-600
- มีหลักสูตร 2 ภาษา (สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน)
- เป็นหลักสูตรแรกในระดับปริญญาตรีของประเทศไทย ที่มุ่งผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านอำนวยการบิน (Flight Operation Management) (สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน)
- เมื่อสำเร็จการศึกษาจะมีองค์ความรู้เพื่อสอบใบอนุญาตผู้ประจำหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานอำนวยการบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีอุปกรณ์การฝึก รวมทั้งห้องปฏิบัติการที่ครบสมบูรณ์เสมือนจริง
อาจารย์ผู้สอนมีประสบการณ์ด้านการบินโดยตรง
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
ค่าเทอม
● ค่าเทอม
หลักสูตรธุรกิจการบิน
ตลอดหลักสูตร 249,700 บาท
ทุนการศึกษา
กยศ. กรอ. ทุนของมหาวิทยาลัย
ผลงานและรางวัล
ผลงานและรางวัล ของนักศึกษา อาจารย์ และศิษย์เก่า
● ผลงานในระดับประเทศ
● ผลงานในระดับโลก
อาชีพ
● อาชีพที่สาขาทำงานได้
สาขาวิชาธุรกิจการบิน (AB)
- หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ผลิตบุคลากรเพื่อไปปฏิบัติงานทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน วิชาเอก การจัดการอำนวยการบิน (AM)
- หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่ผลิตบุคลากรเพื่อไปทำงานในตำแหน่ง พนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer / Flight Dispatcher) ให้กับสายการบินและหน่วยงานการบินต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งตำแหน่งดังกล่าวมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับหน่วยงานด้านการบิน เนื่องจากจะเป็นผู้ที่เตรียมข้อมูล ข่าวสารต่างๆด้านการบินให้กับนักบินทั้งก่อนวิ่งขึ้น ขณะบินในเส้นทางบิน และก่อนร่อนลง
- หากมีความสนใจที่จะไปฝึกเป็นนักบินส่วนบุคคล หรือนักบินพาณิชย์ก็มีความพร้อมในการเข้ารับการฝึกอบรมเป็นนักบินต่อไปได้
- นอกจากนี้ยังมีความพร้อมที่จะไปปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริการภาคพื้นในหน่วยงานด้านการบินต่างๆเช่น เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน หรือจะไปศึกษาต่อด้านการจัดการจราจรทางอากาศได้อีกด้วย
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
● เส้นทางอาชีพการทำงาน
- อุตสาหกรรมการบิน
- งานฝ่ายบริการผู้โดยสาร
- งานในสายการบิน
- งานด้านอำนวยการบินต่างๆ
- จราจรทางอากาศ
- นักบิน
- พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
- เจ้าหน้าที่อำนวยการบิน
เรียนต่อ
● สามารถศึกษาต่อในอนาคตอะไรได้บ้าง
- ใบประกอบวิชาชีพนักบิน
- การจัดการจราจรทางอากาศ
- หลักสูตรที่ได้รับการรับรองจากองค์กรด้านการบินในสายงานต่างๆ เช่น การดำเนินงานการบิน ความปลอดภัย และคลังสินค้า เป็นต้น
- ปริญญาโทด้านการจัดการการบิน
- ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกได้ทั้งมหาวิทยาลัยในประเทศและต่างประเทศ ในสาขาวิชาที่สนใจ
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
รายได้เฉลี่ย
- ทั้งสองหลักสูตรมีรายได้หลังสำเร็จการศึกษาและเข้าทำงานใหม่ ประมาณ 18,000 – 20,000 บาท
โอกาสงานในอาเซียน
เป็นหนึ่งในอาชีพเสรีในอาเซียน
บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับสาขานี้
● บุคลิกภาพของ นศ.ที่เหมาะสมกับการเรียนสาขานี้
- ใจรักในงานบริการ
- บุคลิกภาพดี ยิ้มแย้มแจ่มใส
- ชอบเข้าสังคม
- กล้าแสดงออก
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
รีวิววิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ผลิตบัณฑิตที่มีจิตบริการ มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและการจัดการธุรกิจการบิน มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการและการปฏิบัติงานบริการบนเครื่องบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการในการจัดการเทคโนโลยีการบิน เพื่อให้การอำนวยการบินในด้านต่างๆของอุตสาหกรรมการบินดำเนินไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับการปฏิบัติการและอำนวยการบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer/Flight Dispatcher) ของสายการบิน เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน เจ้าหน้าที่บริการภาคพื้น และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบินอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กรมท่าอากาศยาน เป็นต้น รวมถึง สามารถไปศึกษาต่อเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ และนักบินพาณิชย์ได้อีกด้วย
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มี Mock up ที่ใช้ในการศึกษาภาคปฏิบัติของนักศึกษาเป็นเครื่องบินแบบ A300-600
- มีหลักสูตร 2 ภาษา (สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน)
- เป็นหลักสูตรแรกในระดับปริญญาตรีของประเทศไทย ที่มุ่งผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านอำนวยการบิน (Flight Operation Management) (สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน)
- เมื่อสำเร็จการศึกษาจะมีองค์ความรู้เพื่อสอบใบอนุญาตผู้ประจำหน้าที่ในตำแหน่งพนักงานอำนวยการบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีอุปกรณ์การฝึก รวมทั้งห้องปฏิบัติการที่ครบสมบูรณ์เสมือนจริง
- อาจารย์ผู้สอนมีประสบการณ์ด้านการบินโดยตรง
จบมาทำงานอะไร
- งานฝ่ายบริการผู้โดยสาร
- งานในสายการบิน
- งานด้านอำนวยการบินต่างๆ
- จราจรทางอากาศ
- นักบิน
- พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
- rเจ้าหน้าที่อำนวยการบิน
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและแนวทางการประกอบอาชีพ
สาขาวิชาธุรกิจการบิน
ผลิตบัณฑิตที่มีจิตบริการ มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและการจัดการธุรกิจการบิน มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการและการปฏิบัติงานบริการบนเครื่องบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการในการจัดการเทคโนโลยีการบิน เพื่อให้การอำนวยการบินในด้านต่างๆของอุตสาหกรรมการบินดำเนินไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับการปฏิบัติการและอำนวยการบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer/Flight Dispatcher) ของสายการบิน เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน เจ้าหน้าที่บริการภาคพื้น และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบินอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กรมท่าอากาศยาน เป็นต้น รวมถึง สามารถไปศึกษาต่อเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ และนักบินพาณิชย์ได้อีกด้วย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและแนวทางการประกอบอาชีพ
สาขาวิชาธุรกิจการบิน
ผลิตบัณฑิตที่มีจิตบริการ มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและการจัดการธุรกิจการบิน มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการและการปฏิบัติงานบริการบนเครื่องบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนการบริการภาคพื้น และการบริการภาคอากาศ เช่น พนักงานฝ่ายการโดยสาร พนักงานฝ่ายบัตรโดยสารและสำรองที่นั่ง ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายการตลาด และพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นต้น ตลอดจนเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานสายการบินทั้งของภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและทักษะทั้งทางวิชาการและการปฏิบัติการในการจัดการเทคโนโลยีการบิน เพื่อให้การอำนวยการบินในด้านต่างๆของอุตสาหกรรมการบินดำเนินไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยมีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับการปฏิบัติการและอำนวยการบินได้เป็นอย่างดี เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานอำนวยการบิน (Flight Operation Officer/Flight Dispatcher) ของสายการบิน เจ้าหน้าที่พิธีการบินประจำท่าอากาศยาน เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการบิน เจ้าหน้าที่บริการภาคพื้น และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบินอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กรมท่าอากาศยาน เป็นต้น รวมถึง สามารถไปศึกษาต่อเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ และนักบินพาณิชย์ได้อีกด้วย
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
สำเร็จการศึกษา ม.6
หลักสูตรธุรกิจการบิน
● ผลงานในระดับประเทศ
● ผลงานในระดับโลก
สาขาวิชาธุรกิจการบิน (AB)
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการบิน วิชาเอก การจัดการอำนวยการบิน (AM)
- ใจรักในงานบริการ
- บุคลิกภาพดี ยิ้มแย้มแจ่มใส
- ชอบเข้าสังคม
- กล้าแสดงออก
วิทยาลัยการพัฒนาและฝึกอบรมด้านการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ