วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รีวิววารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เดิมคณะวารสารศาสตร์และสื่อมวลชน เป็นส่วนหนึ่งของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยความก้าวหน้าของศาสตร์หนังสือพิมพ์ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์, สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์, สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพถ่าย, สาขาวิชาโฆษณา, สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ และสาขาวิชาบริหารการสื่อสาร
สาขาวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ หรือเรียกสั้นๆ ว่า “วารสารศาตร์” ที่นี่จะมีการเรียนการสอนแบบค่อยๆ เลื่อนระดับความยากไปเรื่อยๆ อย่างปีที่ 1 น้องๆ จะต้องเรียนเรื่องของความรู้ทั่วไปที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน และยังต้องมีพื้นฐานของการสื่อสารเบื้องต้นด้วย เพื่อก้าวไปสู่รายวิชาในปีต่อไป คือปีที่ 2 เป็นการเรียนพื้นฐานที่เจาะลึกลงไปในแต่ละเอก อาทิ วารสารเบื้องต้น, พื้นฐานทางวิทยุและโทรทัศน์, ภาพยนตร์เบื้องต้น, การประชาสัมพันธ์, หลักการนำเสนอข่าว, ศิลปะเพื่อการสื่อสาร และทฤษฎีในการจัดการการสื่อสาร รวมไปถึงกฎหมาย จริยธรรมของสื่อมวลชน เมื่อสู่ปี 3 น้องๆ จะได้เเลือกเรียนรายวิชาเอกของตัวเองด้านวารสาร หนังสือพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ต่างๆ ตั้งแต่กระบวนการทางความคิดจนถึงออกสู่สาธารณะ และในปีที่ 4 จะเป็นการเรียนในเรื่องของการวิจัย, วิชาเสรีที่สามารถเลือกเองได้ รวมไปถึงการออกไปฝึกงานจริง
ที่นี่มีอุปกรณ์และห้องปฏิบัติการอย่างครบครัน อาทิ สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ห้องปฏิบัติการโทรทัศน์, ห้องถ่ายภาพยนตร์, ห้องปฏิบัติการถ่ายภาพ รวมทั้งห้องปฏิบัติการหนังสือพิมพ์ ที่ผลิตหนังสือพิมพ์และนิตยาสารออกเผยแพร่จริง เพื่อให้น้องๆ สามมารถใช้ความรู้จากที่เรียนมา ฝึกฝนให้เกิดประสบการณ์จากการทำงาน การแก้ไขปัญหาต่างๆ เมื่อจบออกไปทำงานจริงๆ ก็สามารถที่จะรับมือได้ทุกสถานการณ์ เป็นมืออาชีพ
จบมาทำงานอะไร
นักข่าว, นักเขียน, นักวิจารณ์, กองบรรณาธิการการพิมพ์ และออกแบบสิ่งพิมพ์, ผู้ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์, ผู้กำกับแสง เสียง และการแสดง, นักโฆษณาในองค์กรต่าง ๆ, ผู้ผลิตภาพยนตร์และเขียนบทภาพยนตร์, ช่างภาพ, นักประชาสัมพันธ์ในองค์กรของรัฐและเอกชน อาทิ กรมประชาสัมพันธ์, กรมวิเทศสหการ ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรงผ่าน TU STAR
- เอกภาษาไทย สอบเมนู STAR 00 : 100 (ทักษะความพร้อมอุดมศึกษา)
- เอกฝรั่งเศส สอบเมนู STAR 00 : 100 (ทักษะความพร้อมอุดมศึกษา), 401 (ภาษาฝรั่งเศส)
- รายวิชา 401 จัดสอบแค่ 1 - 2 ครั้ง/ปี
*** TU STAR จะมีอายุ 2 ปีนับจากวันสอบ
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%
รูปแบบที่ 1
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%
รูปแบบที่ 2 (เลือกสอบวิชาภาษาต่างประเทศ)
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT7.1 (ภาษาฝรั่งเศส), PAT7.2 (ภาษาเยอรมัน), PAT7.3 (ภาษาญี่ปุ่น), PAT7.4 (ภาษาจีน) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
118, 400 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
14, 800 บาท/เทอม
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มุ่งศึกษาศาสตร์ที่ข้องกับศิลปะในการสื่อสาร โดยให้ความสำคัญกับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง และผู้รับสาร หรือกลุ่มป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทำให้ข่าวสารที่ส่งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุด บัณฑิตที่จบการศึกษาทางด้านนี้มีความรู้เข้มแข็งทางวิชาการและทักษะด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบและจิตสำนึกต่อสาธารณะ รวมทั้ง เป็นผู้นำ รอบรู้ และเท่าทันวิทยาการสมัยใหม่
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
ชื่อคณะ
คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน (Faculty of Journalism and mass communication)
ชื่อสาขา
วารสารศาสตร์ (Bachelor of Arts (Journalism))
รายละเอียด
มุ่งศึกษาศาสตร์ที่ข้องกับศิลปะในการสื่อสาร โดยให้ความสำคัญกับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง และผู้รับสาร หรือกลุ่มป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทำให้ข่าวสารที่ส่งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุด บัณฑิตที่จบการศึกษาทางด้านนี้มีความรู้เข้มแข็งทางวิชาการและทักษะด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบและจิตสำนึกต่อสาธารณะ รวมทั้ง เป็นผู้นำ รอบรู้ และเท่าทันวิทยาการสมัยใหม่
คุณสมบัติ
(1) สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรืออาชีวศึกษาชั้นสูงหรือ ประกาศนียบัตร หรือเทียบเท่า
(2) สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(3) สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยอื่น หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นในประเทศ หรือต่างประเทศ
ซึ่งสภามหาวิทยาลัยรับรอง
(4) มีคุณสมบัติตามที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษ
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบการคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาขั้นอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือการคัดเลือกตามวิธีการที่มหาวิทยาลัยกำหนดโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
แผนการเรียน
วิทย์ - คณิต
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
ได้รับการรับรองจาก
สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
อาชีพ
1 นักข่าว นักเขียน นักวิจารณ์
2 งานบรรณาธิการ การพิมพ์ และออกแบบสิ่งพิมพ์
3 ผู้ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
4. นักประชาสัมพันธ์ในองค์กรของรัฐและเอกชน
5 ผู้กำกับแสง เสียง และการแสดง
6 นักโฆษณาในองค์กรต่าง ๆ
7 ผู้ผลิตภาพยนตร์ และ เขียนบทภาพยนตร์
8 ช่างภาพ
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สามารถเข้าทำงานในกรมประชาสัมพันธ์ กรมวิเทศสหการ และหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของหน่วยราชการและองค์กรธุรกิจ ตลอดจนงานด้านหนังสือพิมพ์ หรือผู้จัดรายการวิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน์ รวมทั้งเป็นนักโฆษณาและนักประชาสัมพันธ์ พิธีกร หรืออาจดำเนินงานธุรกิจของตนเองโดยอิสระ
8 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 8.2 ดีมาก
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดีไหม?
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รีวิววารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เดิมคณะวารสารศาสตร์และสื่อมวลชน เป็นส่วนหนึ่งของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยความก้าวหน้าของศาสตร์หนังสือพิมพ์ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์, สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์, สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพถ่าย, สาขาวิชาโฆษณา, สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ และสาขาวิชาบริหารการสื่อสาร
สาขาวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ หรือเรียกสั้นๆ ว่า “วารสารศาตร์” ที่นี่จะมีการเรียนการสอนแบบค่อยๆ เลื่อนระดับความยากไปเรื่อยๆ อย่างปีที่ 1 น้องๆ จะต้องเรียนเรื่องของความรู้ทั่วไปที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน และยังต้องมีพื้นฐานของการสื่อสารเบื้องต้นด้วย เพื่อก้าวไปสู่รายวิชาในปีต่อไป คือปีที่ 2 เป็นการเรียนพื้นฐานที่เจาะลึกลงไปในแต่ละเอก อาทิ วารสารเบื้องต้น, พื้นฐานทางวิทยุและโทรทัศน์, ภาพยนตร์เบื้องต้น, การประชาสัมพันธ์, หลักการนำเสนอข่าว, ศิลปะเพื่อการสื่อสาร และทฤษฎีในการจัดการการสื่อสาร รวมไปถึงกฎหมาย จริยธรรมของสื่อมวลชน เมื่อสู่ปี 3 น้องๆ จะได้เเลือกเรียนรายวิชาเอกของตัวเองด้านวารสาร หนังสือพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ต่างๆ ตั้งแต่กระบวนการทางความคิดจนถึงออกสู่สาธารณะ และในปีที่ 4 จะเป็นการเรียนในเรื่องของการวิจัย, วิชาเสรีที่สามารถเลือกเองได้ รวมไปถึงการออกไปฝึกงานจริง
ที่นี่มีอุปกรณ์และห้องปฏิบัติการอย่างครบครัน อาทิ สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ห้องปฏิบัติการโทรทัศน์, ห้องถ่ายภาพยนตร์, ห้องปฏิบัติการถ่ายภาพ รวมทั้งห้องปฏิบัติการหนังสือพิมพ์ ที่ผลิตหนังสือพิมพ์และนิตยาสารออกเผยแพร่จริง เพื่อให้น้องๆ สามมารถใช้ความรู้จากที่เรียนมา ฝึกฝนให้เกิดประสบการณ์จากการทำงาน การแก้ไขปัญหาต่างๆ เมื่อจบออกไปทำงานจริงๆ ก็สามารถที่จะรับมือได้ทุกสถานการณ์ เป็นมืออาชีพ
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- เอกภาษาไทย สอบเมนู STAR 00 : 100 (ทักษะความพร้อมอุดมศึกษา)
- เอกฝรั่งเศส สอบเมนู STAR 00 : 100 (ทักษะความพร้อมอุดมศึกษา), 401 (ภาษาฝรั่งเศส)
- รายวิชา 401 จัดสอบแค่ 1 - 2 ครั้ง/ปี
*** TU STAR จะมีอายุ 2 ปีนับจากวันสอบ
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%
รูปแบบที่ 1
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%
รูปแบบที่ 2 (เลือกสอบวิชาภาษาต่างประเทศ)
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT7.1 (ภาษาฝรั่งเศส), PAT7.2 (ภาษาเยอรมัน), PAT7.3 (ภาษาญี่ปุ่น), PAT7.4 (ภาษาจีน) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
(2) สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(3) สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยอื่น หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นในประเทศ หรือต่างประเทศ
ซึ่งสภามหาวิทยาลัยรับรอง
(4) มีคุณสมบัติตามที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้เป็นกรณีพิเศษ
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบการคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาขั้นอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือการคัดเลือกตามวิธีการที่มหาวิทยาลัยกำหนดโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
ศิลป์ - คำนวณ
ศิลป์ - สังคม
ศิลป์ - ภาษา
ศิลป์ - จีน
ศิลป์ - ญี่ปุ่น
เทียบเท่า (อาชีวะ)
เทียบเท่า (กศน.)
2 งานบรรณาธิการ การพิมพ์ และออกแบบสิ่งพิมพ์
3 ผู้ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
4. นักประชาสัมพันธ์ในองค์กรของรัฐและเอกชน
5 ผู้กำกับแสง เสียง และการแสดง
6 นักโฆษณาในองค์กรต่าง ๆ
7 ผู้ผลิตภาพยนตร์ และ เขียนบทภาพยนตร์
8 ช่างภาพ
8 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 8.2 ดีมาก
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน สาขาวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ