แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
มหาวิทยาลัยมหิดล
รีวิวแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่นี่เปิดสอนศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของ "การแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย" เป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ โดยประกอบได้ด้วย 2 วิชาเอกย่อย คือ วิชาเอกโสตสัมผัสวิทยา และ วิชาเอกแก้ไขการพูด ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นวิชาชีพที่มีบทบาทในการบริการทางด้านสาธารณสุขมาอย่างยาวนานกว่า 30 ปี ระยะเวลาในการเรียนการสอบตลอดหลักสูตรจะอยู่ที่ 4 ปี โดยในชั้นปีที่ 1 น้องๆ จะได้ไปเรียนที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายาในรายวิชาพื้นฐานต่างๆ เรื่อยมาจนถึงชั้นปีที่ 2 เทอม 2 ก็จะได้เข้ามาเรียนที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีไปตลอดจนถึงชั้นปีที่ 4 เลยที่เดียว
ด้านการเรียนการสอนก็จะเน้นไปที่การตรวจวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบการได้ยินต่างๆ การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการได้ยิน การอนุรักษ์การได้ยิน วินิจฉัยความผิดปกติของการสื่อความหมายทางภาษา ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางด้านภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน สามารถแยกประเภทความผิดปกติต่างๆ ได้เป็นอย่างดี บำบัดรักษา/แก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพของความผิดปกติที่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นกับกระบวนการพูด ระบบภาษา หรือการทำงานของอวัยวะในช่องปาก คอ หลอดอาหารช่วงต้น ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง การเลือกใช้เครื่องมือช่วยรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย ติดตามผลการรักษา ตลอดจนการเผยแพร่ความรู้เพื่อป้องกันความผิดปกติทางภาษาและการพูดอีกด้วย
อย่างไรก็ตามถึงแม้สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายจะอยู่ในความดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แต่วุฒิการศึกษาที่จะได้รับเมื่อสำเร็จการศึกษาก็คือ "วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย"
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- เป็นหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของการสื่อความหมายแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย
- เปิดรับสมัครนักศึกษาปีละประมาณ 30 คนเท่านั้น เพื่อให้อาจารย์ดูแลนักเรียน นักศึกษาได้อย่างทั่วถึง
จบมาทำงานอะไร
- นักแก้ไขการพูดและนักแก้ไขการได้ยินในโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน
- อาจารย์ นักวิชาการ
- นักวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาการสื่อความหมาย หรือศึกษาต่อต่างประเทศในระดับสูง
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรงโดยมหาวิทยาลัย
- กำลังศึกษาในระดับชั้น ม.6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00 และผลการเรียนรายวิชาวิทย์ คณิต ไทย สังคม ไม่ต่ำกว่า 3.00
- ผ่านการสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
- สมัครผ่านทางเว็บไซต์ www.mahidol.ac.th/directadmission
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
60,000 บาท
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
มหาวิทยาลัยมหิดล
รีวิวแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่นี่เปิดสอนศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของ "การแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย" เป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ โดยประกอบได้ด้วย 2 วิชาเอกย่อย คือ วิชาเอกโสตสัมผัสวิทยา และ วิชาเอกแก้ไขการพูด ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นวิชาชีพที่มีบทบาทในการบริการทางด้านสาธารณสุขมาอย่างยาวนานกว่า 30 ปี ระยะเวลาในการเรียนการสอบตลอดหลักสูตรจะอยู่ที่ 4 ปี โดยในชั้นปีที่ 1 น้องๆ จะได้ไปเรียนที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายาในรายวิชาพื้นฐานต่างๆ เรื่อยมาจนถึงชั้นปีที่ 2 เทอม 2 ก็จะได้เข้ามาเรียนที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีไปตลอดจนถึงชั้นปีที่ 4 เลยที่เดียว
ด้านการเรียนการสอนก็จะเน้นไปที่การตรวจวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบการได้ยินต่างๆ การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการได้ยิน การอนุรักษ์การได้ยิน วินิจฉัยความผิดปกติของการสื่อความหมายทางภาษา ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางด้านภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน สามารถแยกประเภทความผิดปกติต่างๆ ได้เป็นอย่างดี บำบัดรักษา/แก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพของความผิดปกติที่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นกับกระบวนการพูด ระบบภาษา หรือการทำงานของอวัยวะในช่องปาก คอ หลอดอาหารช่วงต้น ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง การเลือกใช้เครื่องมือช่วยรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย ติดตามผลการรักษา ตลอดจนการเผยแพร่ความรู้เพื่อป้องกันความผิดปกติทางภาษาและการพูดอีกด้วย
อย่างไรก็ตามถึงแม้สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายจะอยู่ในความดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แต่วุฒิการศึกษาที่จะได้รับเมื่อสำเร็จการศึกษาก็คือ "วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย"
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- เปิดรับสมัครนักศึกษาปีละประมาณ 30 คนเท่านั้น เพื่อให้อาจารย์ดูแลนักเรียน นักศึกษาได้อย่างทั่วถึง
จบมาทำงานอะไร
- อาจารย์ นักวิชาการ
- นักวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาการสื่อความหมาย หรือศึกษาต่อต่างประเทศในระดับสูง
สมัครเรียนทำอย่างไร
- กำลังศึกษาในระดับชั้น ม.6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00 และผลการเรียนรายวิชาวิทย์ คณิต ไทย สังคม ไม่ต่ำกว่า 3.00
- ผ่านการสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
- สมัครผ่านทางเว็บไซต์ www.mahidol.ac.th/directadmission
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
มหาวิทยาลัยมหิดล
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย เป็นหลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวในประเทศไทย ดำเนินการโดยภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งอยู่ ณ อาคารปัจจุบันพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ได้เริ่มเปิดสอนนักศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 เพื่อผลิตบุคลากรที่ชำนาญด้านทดสอบการได้ยินและแก้ไขการพูดแก่ผู้ป่วย โดยทำงานร่วมกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโสต ศอ นาสิก วิทยา ในสถาบันแพทย์และโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน
ที่นี่เปิดสอนศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของ "การแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย" เป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ โดยประกอบได้ด้วย 2 วิชาเอกย่อย คือ วิชาเอกโสตสัมผัสวิทยา และ วิชาเอกแก้ไขการพูด ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นวิชาชีพที่มีบทบาทในการบริการทางด้านสาธารณสุขมาอย่างยาวนานกว่า 30 ปี ระยะเวลาในการเรียนการสอบตลอดหลักสูตรจะอยู่ที่ 4 ปี โดยในชั้นปีที่ 1 น้องๆ จะได้ไปเรียนที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายาในรายวิชาพื้นฐานต่างๆ เรื่อยมาจนถึงชั้นปีที่ 2 เทอม 2 ก็จะได้เข้ามาเรียนที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีไปตลอดจนถึงชั้นปีที่ 4 เลยที่เดียว
ถึงแม้สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายจะอยู่ในความดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แต่วุฒิการศึกษาที่จะได้รับเมื่อสำเร็จการศึกษาก็คือ "วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย"
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย เป็นหลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวในประเทศไทย ดำเนินการโดยภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งอยู่ ณ อาคารปัจจุบันพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ได้เริ่มเปิดสอนนักศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 เพื่อผลิตบุคลากรที่ชำนาญด้านทดสอบการได้ยินและแก้ไขการพูดแก่ผู้ป่วย โดยทำงานร่วมกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโสต ศอ นาสิก วิทยา ในสถาบันแพทย์และโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน
ที่นี่เปิดสอนศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของ "การแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย" เป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ โดยประกอบได้ด้วย 2 วิชาเอกย่อย คือ วิชาเอกโสตสัมผัสวิทยา และ วิชาเอกแก้ไขการพูด ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นวิชาชีพที่มีบทบาทในการบริการทางด้านสาธารณสุขมาอย่างยาวนานกว่า 30 ปี ระยะเวลาในการเรียนการสอบตลอดหลักสูตรจะอยู่ที่ 4 ปี โดยในชั้นปีที่ 1 น้องๆ จะได้ไปเรียนที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายาในรายวิชาพื้นฐานต่างๆ เรื่อยมาจนถึงชั้นปีที่ 2 เทอม 2 ก็จะได้เข้ามาเรียนที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีไปตลอดจนถึงชั้นปีที่ 4 เลยที่เดียว
ถึงแม้สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายจะอยู่ในความดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แต่วุฒิการศึกษาที่จะได้รับเมื่อสำเร็จการศึกษาก็คือ "วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย"
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย มี 2 วิชาเอก คือ วิชาเอกโสตสัมผัสวิทยา และวิชาเอกการแก้ไขการพูด จัดกิจกรรมให้มีการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในคลินิก และชุมชน โดยคำนึงถึงคุณธรรม จริยธรรม การตัดสินใจทางคลินิก และส่งเสริมการทำงานเป็นทีม มีเนื้อหาหลักดังนี้
- การเรียนความรู้พื้นฐานเรื่องวิทยาศาสตร์การได้ยินและการพูด
- การตรวจการได้ยินแบบคัดกรอง และตรวจความผิดปกติการได้ยินขั้นพื้นฐาน
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการได้ยินและการพูด ในเด็กพูดไม่ชัดที่ไม่มีพยาธิสภาพหรือโครงสร้างผิดปกติ
- การติดต่อสื่อความหมายขั้นพื้นฐานกับผู้ป่วยหูพิการได้เหมาะสม
- การกระตุ้นพัฒนาการทางภาษาและการพูด ในเด็กพูดช้าที่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
นอกจากนั้นบัณฑิตวิชาเอกโสตสัมผัสวิทยา ยังสามารถประเมินการใช้เครื่องช่วยฟัง ให้แก่ผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาไม่ซับซ้อนและสามารถปฏิบัติงานตรวจวัดการได้ยินในชุมชนได้
ส่วนบัณฑิตวิชาเอกการแก้ไขการพูด สามารถกระตุ้นพัฒนาการทางภาษาของเด็ก ที่มีปัญหาการพูดล่าช้า จากสาเหตุต่างๆ เช่น ประสาทการได้ยินผิดปกติ เชาว์ปัญญาต่ำ สมองพิการ กลุ่มเด็กออทิสติก และปัญหาด้านอารมณ์
- กำลังศึกษาในระดับชั้น ม.6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00 และผลการเรียนรายวิชาวิทย์ คณิต ไทย สังคม ไม่ต่ำกว่า 3.00
- ผ่านการสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
- สมัครผ่านทางเว็บไซต์ www.mahidol.ac.th/directadmission
- เปิดรับสมัครนักศึกษาปีละประมาณ 30 คนเท่านั้น เพื่อให้อาจารย์ดูแลนักเรียน นักศึกษาได้อย่างทั่วถึง
- อาจารย์ นักวิชาการ
- นักวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาการสื่อความหมาย หรือศึกษาต่อต่างประเทศในระดับสูง
ในด้านความก้าวหน้าของวิชาชีพสามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย เป็นอาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาการสื่อความหมาย หรือศึกษาต่อต่างประเทศในระดับสูงได้
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย มหาวิทยาลัยมหิดล ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ