อักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวอักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการจัดการเรียนการสอนโดยที่ภาษาแรกคือ ภาษาบาลี ในปีพ.ศ.2471 ในช่วงนั้นภาษาบาลียังเป็นรายวิชาหนึ่งในแผนกภาษาไทยและโบราณตะวันออกแล้วได้เปิดสอนภาษาญี่ปุ่นตามสภาพการเมืองที่รัฐบาลไทยเป็นพันธมิตรกับกองทัพญี่ปุ่นในสงครามมหาเอเชียบูรพาแต่ได้ยกเลิกไปในปีเดียวกันภายหลังกองทัพญี่ปุ่นแพ้สงครามในปีพ.ศ.2488
โดยทางภาควิชาได้เปิดสอนทั้งหมด 10 สาชา ได้แก่ ภาษาบาลี-สันสกฤต, ภาษาฮินดี, ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษามาเลย์, ภาษาเกาหลี, ภาษาเวียดนาม, ภาษาพม่า, ภาษาอาหรับ และภาษาอินโดนีเซีย มีสาขาหลักที่เปิดเป็นวิชาเอกอยู่ 3 สาขา ได้แก่
1. สาขาภาษาบาลี-สันสกฤต เปิดสอนวิชาเฉพาะสาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต แบบวิชาเอกเดี่ยวสำหรับน้องๆ ที่เลือกเรียนเป็นวิชาเอก และเปิดสอนแบบวิชาเอก-โท ให้คนที่จะเรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท โดยมีวิชาเรียนที่น่าสนใจนอกจากการฟัง, พูด, อ่าน, เขียนภาษาบาลี-สันสกฤตและภาษาฮินดีแล้ว เช่นวิชาประวัติวรรณกรรมฮินดี, วรรณกรรมฮินดีและอินเดีย, อารยธรรมอินเดีย, พุทธธรรมในพระไตรปิฎกบาลี, อารยธรรมพุทธศาสนา เป็นต้น
2. สาขาภาษาจีน มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ทั้งด้านภาษาและวรรณคดีจีน เพื่อให้สามารถศึกษาค้นคว้าในระดับสูงต่อไป สามารถที่จะเป็นนักวิชาการ นักวิจัย หรือผู้สอนในสาขาวิชาภาษาจีนในระดับอุดมศึกษา แล้วยังสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต สาขาวิชาภาษาจีนเปิดสอนวิชาแบบวิชาเอกเดี่ยว และเปิดสอนเป็น วิชาโท สำหรับคนที่เรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท โดยการเรียนการสอนนั้นก็จะเป็นการเรียนแบบอ่าน, เขียน, แปล, สนทนาภาษาจีน แล้วนอกจากนี้ก็มีวิชาเรียนที่น่าสนใจอีกศิลปะการเขียนตัวอักษรจีน, ภาษาจีนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, ภาษาจีนด้านการท่องเที่ยว, ภาษาจีนธุรกิจ เป็นต้น และน้องๆ ยังต้องสอบเข้าสาขานี้ด้วยคะแนน PAT7.4 (ภาษาจีน) และเกรดวิชา CHIN BEBINNERS 1, 2 ไม่ต่ำกว่า3.00 หรือสอบผ่านวิชา Basic Chinese1, 2 ด้วย
3. สาขาภาษาญี่ปุ่น เป็นอีกสาขาหนึ่งที่ถือว่าเรียนยากและหนักอีกสาขาหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยการเรียนสอนในปีแรกนั้นก็จะเหมือนกันทุกๆสาขาที่ต้องเรียนรวมก่อน แล้วน้องๆ ที่จะเรียนสาขาภาษาญี่ปุ่นนั้นก็จะต้องเป็นผู้ที่ใช้คะแนน PAT7.5 (ภาษาญี่ปุ่น) และต้องได้คะแนนวิชาทักษะเขียน-ไวยกรณ์1, 2 ต่ำกว่า 3.00 หรือได้คะแนนวิชาทักษะสนทนาภาษาญี่ปุ่น1, 2 ไม่ต่ำกว่า 3.00 ยังมีวิชาที่น่าสนใจเช่น การเขียนภาษาญี่ปุ่น, ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น, คันจิศึกษา, การสนทนาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ, นวนิยายญี่ปุ่นทั้งสมัยใหม่และรวมสมัย เป็นต้น
และทั้ง 3 สาขาวิชายังได้เปิดโปรแกรมเกียตรินิยมอีกด้วย นอกจากนี้ก็ยังมีสาขาวิชาอื่นด้วยที่น้องๆ จะได้เลือกเรียนเป็นวิชาโท หรือวิชาเสรี ถ้าน้องๆ เป็นคนรักด้านภาษาการที่จะเรียนภาษาอะไร ก็คงไม่ยากเกินความสามารถของน้องๆ เพราะถ้าหากน้องๆ มีความรักและสนใจจริงทุกอย่างมันก็จะง่ายขึ้นเอง การมีความร็ในด้านภาษาที่3นั้นมักจะได้เปรียบกว่าคนอื่นอยู่แล้วในการทำงานอย่างแน่นอน
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
- มีอาจารย์ที่สอนเจ้าของภาษาและมีความรู้เฉาพะด้าน
จบมาทำงานอะไร
- เจ้าหน้าที่ในองค์ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ธนาคาร ธุรกิจด้านการบริการ ธุรกิจด้านการจัดประชุม
- ครู อาจารย์
- พนักงานแปล
- เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ
- พนักงานประจสายการบินต่างๆ
- พนักงานโรงแรม
- พนักงานบริษัทนำเที่ยว
- เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทักษะภาษา
ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรง (มีนาคม)
- สำเร็จหรือกำลังศึกษาระดับชั้นม.6 ทุกแผนการเรียน
- มีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.75
- มีผลคะแนนสอบ PAT1 (คณิตศาสตร์) หรือ เลือกสอบPAT7 ภาษาต่างประเทศ
- มีผลสอบ 9 วิชาสามัญ (ในรายวิชาภาษาไทย, สังคมศึกษา, ภาษาอังกฤษ)
- สมัครผ่านทางเว็ปไซต์ http://www.atc.chula.ac.th
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
136, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
17, 000 บาท
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม
อักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
อักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวอักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการจัดการเรียนการสอนโดยที่ภาษาแรกคือ ภาษาบาลี ในปีพ.ศ.2471 ในช่วงนั้นภาษาบาลียังเป็นรายวิชาหนึ่งในแผนกภาษาไทยและโบราณตะวันออกแล้วได้เปิดสอนภาษาญี่ปุ่นตามสภาพการเมืองที่รัฐบาลไทยเป็นพันธมิตรกับกองทัพญี่ปุ่นในสงครามมหาเอเชียบูรพาแต่ได้ยกเลิกไปในปีเดียวกันภายหลังกองทัพญี่ปุ่นแพ้สงครามในปีพ.ศ.2488
โดยทางภาควิชาได้เปิดสอนทั้งหมด 10 สาชา ได้แก่ ภาษาบาลี-สันสกฤต, ภาษาฮินดี, ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษามาเลย์, ภาษาเกาหลี, ภาษาเวียดนาม, ภาษาพม่า, ภาษาอาหรับ และภาษาอินโดนีเซีย มีสาขาหลักที่เปิดเป็นวิชาเอกอยู่ 3 สาขา ได้แก่
1. สาขาภาษาบาลี-สันสกฤต เปิดสอนวิชาเฉพาะสาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต แบบวิชาเอกเดี่ยวสำหรับน้องๆ ที่เลือกเรียนเป็นวิชาเอก และเปิดสอนแบบวิชาเอก-โท ให้คนที่จะเรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท โดยมีวิชาเรียนที่น่าสนใจนอกจากการฟัง, พูด, อ่าน, เขียนภาษาบาลี-สันสกฤตและภาษาฮินดีแล้ว เช่นวิชาประวัติวรรณกรรมฮินดี, วรรณกรรมฮินดีและอินเดีย, อารยธรรมอินเดีย, พุทธธรรมในพระไตรปิฎกบาลี, อารยธรรมพุทธศาสนา เป็นต้น
2. สาขาภาษาจีน มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ทั้งด้านภาษาและวรรณคดีจีน เพื่อให้สามารถศึกษาค้นคว้าในระดับสูงต่อไป สามารถที่จะเป็นนักวิชาการ นักวิจัย หรือผู้สอนในสาขาวิชาภาษาจีนในระดับอุดมศึกษา แล้วยังสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต สาขาวิชาภาษาจีนเปิดสอนวิชาแบบวิชาเอกเดี่ยว และเปิดสอนเป็น วิชาโท สำหรับคนที่เรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท โดยการเรียนการสอนนั้นก็จะเป็นการเรียนแบบอ่าน, เขียน, แปล, สนทนาภาษาจีน แล้วนอกจากนี้ก็มีวิชาเรียนที่น่าสนใจอีกศิลปะการเขียนตัวอักษรจีน, ภาษาจีนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, ภาษาจีนด้านการท่องเที่ยว, ภาษาจีนธุรกิจ เป็นต้น และน้องๆ ยังต้องสอบเข้าสาขานี้ด้วยคะแนน PAT7.4 (ภาษาจีน) และเกรดวิชา CHIN BEBINNERS 1, 2 ไม่ต่ำกว่า3.00 หรือสอบผ่านวิชา Basic Chinese1, 2 ด้วย
3. สาขาภาษาญี่ปุ่น เป็นอีกสาขาหนึ่งที่ถือว่าเรียนยากและหนักอีกสาขาหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยการเรียนสอนในปีแรกนั้นก็จะเหมือนกันทุกๆสาขาที่ต้องเรียนรวมก่อน แล้วน้องๆ ที่จะเรียนสาขาภาษาญี่ปุ่นนั้นก็จะต้องเป็นผู้ที่ใช้คะแนน PAT7.5 (ภาษาญี่ปุ่น) และต้องได้คะแนนวิชาทักษะเขียน-ไวยกรณ์1, 2 ต่ำกว่า 3.00 หรือได้คะแนนวิชาทักษะสนทนาภาษาญี่ปุ่น1, 2 ไม่ต่ำกว่า 3.00 ยังมีวิชาที่น่าสนใจเช่น การเขียนภาษาญี่ปุ่น, ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น, คันจิศึกษา, การสนทนาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ, นวนิยายญี่ปุ่นทั้งสมัยใหม่และรวมสมัย เป็นต้น
และทั้ง 3 สาขาวิชายังได้เปิดโปรแกรมเกียตรินิยมอีกด้วย นอกจากนี้ก็ยังมีสาขาวิชาอื่นด้วยที่น้องๆ จะได้เลือกเรียนเป็นวิชาโท หรือวิชาเสรี ถ้าน้องๆ เป็นคนรักด้านภาษาการที่จะเรียนภาษาอะไร ก็คงไม่ยากเกินความสามารถของน้องๆ เพราะถ้าหากน้องๆ มีความรักและสนใจจริงทุกอย่างมันก็จะง่ายขึ้นเอง การมีความร็ในด้านภาษาที่3นั้นมักจะได้เปรียบกว่าคนอื่นอยู่แล้วในการทำงานอย่างแน่นอน
จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร
จบมาทำงานอะไร
- ครู อาจารย์
- พนักงานแปล
- เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ
- พนักงานประจสายการบินต่างๆ
- พนักงานโรงแรม
- พนักงานบริษัทนำเที่ยว
- เจ้าหน้าที่ในองค์การและธุรกิจอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทักษะภาษา
ฯลฯ
สมัครเรียนทำอย่างไร
- สำเร็จหรือกำลังศึกษาระดับชั้นม.6 ทุกแผนการเรียน
- มีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.75
- มีผลคะแนนสอบ PAT1 (คณิตศาสตร์) หรือ เลือกสอบPAT7 ภาษาต่างประเทศ
- มีผลสอบ 9 วิชาสามัญ (ในรายวิชาภาษาไทย, สังคมศึกษา, ภาษาอังกฤษ)
- สมัครผ่านทางเว็ปไซต์ http://www.atc.chula.ac.th
แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 20%
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
อักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม
อักษรศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ