ศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นาฏยศิลป์ หมายถึง ศิลปะการฟ้อนรำ หรือความรู้แบบแผนของการฟ้อนรำ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม เพื่อให้ความบันเทิง หรือโน้มน้าวอารมณ์และความรู้สึกของผู้ชมให้คล้อยตาม ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือเรียกว่า ศิลปะของการร้องรำทำเพลง นาฏยศิลป์ นอกจากจะแสดงความเป็นอารยะของประเทศแล้ว ยังเป็นเสมือนแหล่งรวมศิลปะและการแสดงหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน โดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ในการที่จะสร้างสรรค์ อนุรักษ์ และถ่ายทอดสืบต่อไป
สาขานาฏยศิลป์ อยู่ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ เปิดทำการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีเป็นคณะที่ 15 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปีการศึกษา 2526 เป็นปีแรก คณะศิลปกรรมศาสตร์ ผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ ความชำนาญ ด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และเป็นผู้ที่มีความรู้คู่คุณธรรม ศิลปินบัณฑิตจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ สามารถประกอบอาชีพอิสระหรือทำงานในองค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจและราชการได้เป็นอย่างดี
โดยสาขานาฏยศิลป์ มีอยู่ด้วยกัน 2 วิชาเอก ก็คือนาฏยศิลป์ไทย และ นาฏศิลป์ตะวันตก โดยมีวิชาบังที่น้องๆ จะต้องเรียนร่วมกันทั้ง 2 วิชาเอก ก็คือ นาฏยศิลป์ปริทรรศน์, สรีรวิทยาของผู้แสดงนาฏยศิลป์, ทฤษฎีนาฏยศิลป์ไทย ตะวันตกและตะวันออก, ประวัตินาฏยศิลป์ไทย, ตะวันตก และตะวันออก และวิชานาฏยประดิษฐ์ ซึ่งวิชาที่แตกต่างกันของ 2 วิชาเอกนี้ โดยนาฏยศิลป์ไทย ส่วนมากจะเรียนเกี่ยวการการแสดงโขน คือวิชาทักษะนาฏยศิลป์ไทยตัวพระและตัวนาง ส่วนนาฏยศิลป์ตะวันตก จะเรียนเกี่ยวกับเทคนิคบัลเล่ต์ นอกจากเรียนวิชาบังคับของตนเองแล้ว ยังมีวิชาเลือกให้น้องๆ ได้เลือกเรียน อย่างเช่นวิชา ขับร้องละคร, นาฏยศิลป์ร่วมสมัย, นาฏยศิลป์การแสดง, ลิเก, การออกแบบการสร้างงานด้านนาฏยศิลป์, วรรณกรรมนาฏยศิลป์, การจัดการแสดงนาฏยศิลป์, นาฏยศิลป์ของแต่ละประเทศอินเดีย, อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น, โปลิเซีย, จีน, เกาหลี นาฏยศิลป์ของแต่ละภาคคือ อีสานและล้านนา, ทักษิณ, ชาวไทยภูเขา และการกำกับการแสดงละครรำ นอกจากวิชาเหล่านี้แล้วน้องๆ ยังจะต้องทำการวิจัยนาฏยศิลป์, การฝึกวิชาชีพนาฏยศิลป์ และงานโครงการนาฏยศิลป์ เพื่อเป็นผลงานเพื่อจบการศึกษา
จบมาทำงานอะไร
ครู, อาจารย์สอนด้านนาฏศิลป์ในสถานศึกษาทั้งรัฐบาลและเอกชน, นักแสดง, เจ้าของโรงเรียนสอนนาฏศิลป์หรือการแสดง, รับราชการในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมศิลปากร
สมัครเรียนทำอย่างไร
ระบบรับตรงโครงการพิเศษ (สิงหาคม)
- สำเร็จหรือกำลังศึกษาชั้นม.6
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.00
- มีความสามารถในสาขาวิชาที่สมัครเรียน
- ผ่านการทำสอบภาคทฤษฎีและทักษะของทางมหาวิทยาลัย
- ผ่านการสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
136, 000 บาท
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
17, 000 บาท/เทอม
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม
ศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
ศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รีวิวศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นาฏยศิลป์ หมายถึง ศิลปะการฟ้อนรำ หรือความรู้แบบแผนของการฟ้อนรำ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม เพื่อให้ความบันเทิง หรือโน้มน้าวอารมณ์และความรู้สึกของผู้ชมให้คล้อยตาม ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือเรียกว่า ศิลปะของการร้องรำทำเพลง นาฏยศิลป์ นอกจากจะแสดงความเป็นอารยะของประเทศแล้ว ยังเป็นเสมือนแหล่งรวมศิลปะและการแสดงหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน โดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ในการที่จะสร้างสรรค์ อนุรักษ์ และถ่ายทอดสืบต่อไป
สาขานาฏยศิลป์ อยู่ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ เปิดทำการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีเป็นคณะที่ 15 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปีการศึกษา 2526 เป็นปีแรก คณะศิลปกรรมศาสตร์ ผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ ความชำนาญ ด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และเป็นผู้ที่มีความรู้คู่คุณธรรม ศิลปินบัณฑิตจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ สามารถประกอบอาชีพอิสระหรือทำงานในองค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจและราชการได้เป็นอย่างดี
โดยสาขานาฏยศิลป์ มีอยู่ด้วยกัน 2 วิชาเอก ก็คือนาฏยศิลป์ไทย และ นาฏศิลป์ตะวันตก โดยมีวิชาบังที่น้องๆ จะต้องเรียนร่วมกันทั้ง 2 วิชาเอก ก็คือ นาฏยศิลป์ปริทรรศน์, สรีรวิทยาของผู้แสดงนาฏยศิลป์, ทฤษฎีนาฏยศิลป์ไทย ตะวันตกและตะวันออก, ประวัตินาฏยศิลป์ไทย, ตะวันตก และตะวันออก และวิชานาฏยประดิษฐ์ ซึ่งวิชาที่แตกต่างกันของ 2 วิชาเอกนี้ โดยนาฏยศิลป์ไทย ส่วนมากจะเรียนเกี่ยวการการแสดงโขน คือวิชาทักษะนาฏยศิลป์ไทยตัวพระและตัวนาง ส่วนนาฏยศิลป์ตะวันตก จะเรียนเกี่ยวกับเทคนิคบัลเล่ต์ นอกจากเรียนวิชาบังคับของตนเองแล้ว ยังมีวิชาเลือกให้น้องๆ ได้เลือกเรียน อย่างเช่นวิชา ขับร้องละคร, นาฏยศิลป์ร่วมสมัย, นาฏยศิลป์การแสดง, ลิเก, การออกแบบการสร้างงานด้านนาฏยศิลป์, วรรณกรรมนาฏยศิลป์, การจัดการแสดงนาฏยศิลป์, นาฏยศิลป์ของแต่ละประเทศอินเดีย, อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น, โปลิเซีย, จีน, เกาหลี นาฏยศิลป์ของแต่ละภาคคือ อีสานและล้านนา, ทักษิณ, ชาวไทยภูเขา และการกำกับการแสดงละครรำ นอกจากวิชาเหล่านี้แล้วน้องๆ ยังจะต้องทำการวิจัยนาฏยศิลป์, การฝึกวิชาชีพนาฏยศิลป์ และงานโครงการนาฏยศิลป์ เพื่อเป็นผลงานเพื่อจบการศึกษา
จบมาทำงานอะไร
สมัครเรียนทำอย่างไร
- สำเร็จหรือกำลังศึกษาชั้นม.6
- มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.00
- มีความสามารถในสาขาวิชาที่สมัครเรียน
- ผ่านการทำสอบภาคทฤษฎีและทักษะของทางมหาวิทยาลัย
- ผ่านการสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
ศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.com
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
1 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม
ศิลปกรรมศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?
GOOGLE MAP
ข้อมูลติดต่อ